Page 7 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 วันที่ 6-12 พฤษภาคม 2562
P. 7
วันที่ ๖ - ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ข่าวรามคำาแหง ๗
หรือมนุษย์คือพระเจ้า
เมื่อวิทยาศาสตร์สรรสร้างสิ่งมีชีวิต ปัญหาทางจริยธรรมการวิจัย
คณะทัศนมาตรศาสตร์ อาจารย์ ดร.ธีระ โพยมทิพย์
เป็นเวลามากกว่าครึ่งศตวรรษแล้วที่มีจริยธรรมการวิจัยในคน
เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการศึกษาและวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคน
โดยจุดเริ่มต้นนั้นเกิดขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองที่มีการ
พิจารณาคดีที่แก่คณะผู้น�าทางการเมือง การทหาร ของนาซีเยอรมัน
ผู้แพ้สงคราม ซึ่งทุกวันนี้เรารู้จักกันในชื่อ คดีเนือร์นแบร์ด (Nürnberg
หรือ Nuremberg) โดยหนึ่งในข้อพิจารณาคือการวิจัยทางการแพทย์
ที่ท�าการฉีดเชื้อไข้รากสาดใหญ่ (Typhus) เข้าเส้นเลือดและตาของนักโทษ
การพิจารณาคดีดังกล่าวน�าไปสู่การเขียนหลักการเนือร์แบร์ดหรือ
นูเรมเบิร์กโค๊ด (Nuremberg code) ซึ่งเป็นข้อตกลงฉบับแรกเกี่ยวกับ
การวิจัยและทดลองในมนุษย์ ทว่าเนื้อหาและหลักการของเอกสาร
รูปภาพแสดงการท�าผสมเทียมในหลอดทดลอง (In vitro fertilization)
ฉบับนี้ถูกเขียนโดยนักกฎหมาย ท�าให้มุ่งเน้นการป้องกันการกระท�าผิด ด้วยวิธีการที่มีชื่อว่า Microinjection หลังจากเสร็จสิ้นการผสมนี้ เซลล์ที่เห็นจะ
ไม่ได้สนับสนุนการวิจัยเท่าที่ควร ท�าให้ต่อมานานาชาติได้หาข้อตกลง เริ่มท�าการแบ่งตัวและพัฒนาเป็นสิ่งมีชีวิตต่อไป (ที่มา http://www.bioethic
และเขียนแนวทางที่สนับสนุนการวิจัยมากขึ้นในชื่อของ ปฏิญญาเฮลซิงกิ sobservatory.org/2018/07/human-cloning-controversy/27237)
(Declaration of Helsinki) ซึ่งเป็นข้อตกลงการวิจัยในคนระดับสากล กฎหมายพบว่า การตัดต่อพันธุกรรมในเด็กหลอดแก้วเป็นเรื่องที่สามารถ
ที่นานาชาติยอมรับและใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ท�าได้ในประเทศจีน เนื่องจากเป็นเพียงข้อแนะน�าในระดับคลินิกว่า
ความก้าวหน้าทางพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี ท�าให้งานวิจัย ไม่ควรกระท�า ในขณะที่การท�าดังกล่าวถือเป็นเรื่องผิดกฎหมายใน
ทางวิทยาศาสตร์ไปได้เร็วขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อพันธุกรรมในพืช สหรัฐอเมริกา และยุโรป อย่างไรก็ตาม หน่วยงานต้นสังกัดของ ศ.เฮ่อ
ได้ออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2019 ว่าขอประณามการ
สัตว์ และมนุษย์ ล่าสุดช่วงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2018 ในงานประชุม กระท�าดังกล่าวและยุติสัญญาจ้าง เนื่องจากเป็นการละเมิดบรรทัดฐาน
วิชาการนานชาติที่ประเทศสหรัฐอเมริกามีการน�าเสนอผลงานเกี่ยวกับ และจริยธรรมทางวิชาการอย่างร้ายแรง และทางการจีนได้รายงานว่า
การตัดต่อพันธุกรรมในตัวอ่อนมนุษย์ โดยศาสตราจารย์เฮ่อ เจี้ยนขุย เป็นการกระท�าผิดกฎหมายเนื่องจากเป็นการกระท�าอันมิชอบเพื่อ
แห่งมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคใต้ (Southern แสวงหาชื่อเสียงให้แก่ตนเอง
University of Science and Technology) เมืองเซินเจิ้น ประเทศจีน นอกจากการตัดต่อพันธุกรรมในคนแล้ว ปัจจุบันงานวิจัยด้าน
ท�าการลบยีนที่มีชื่อว่า CCR5 อันเป็นยีนที่ท�าให้ติดเชื้อไวรัสโรคเอดส์ สิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ (Synthetic organisms) ก็เป็นประเด็นพิจาณา
ออกจากสเปิร์มของพ่อที่เป็นผู้ป่วยเป็นโรคเอดส์ ก่อนที่จะท�าการ ทางจริยธรรมเช่นกัน โดยจุดก�าเนิดของงานวิจัยดังกล่าวเริ่มต้นใน
ปฏิสนธิในหลอดทดลองและปลูกถ่ายตัวอ่อนลงในผู้เป็นแม่ โดยตัวอ่อน ช่วงปี 2014 ได้มีรายงานการสร้างแบคทีเรียกึ่งสังเคราะห์ (Semisyn-
ดังกล่าวก็ได้ลืมตาดูโลกอย่างปลอดภัยและไม่ได้ติดเชื้อไวรัสโรคเอดส์ thetic organism) ที่เกิดจากสารพันธุกรรมสังเคราะห์พิเศษได้แก่
ระหว่างการน�าเสนอผลงาน ศ.เฮ่อ ถูกถามโดยนักวิทยาศาสตร์ที่เข้า เบสชนิด Y และ X ร่วมกับเบสปกติ (A T G และ C) และในปี 2017
ร่วมเป็นเวลามากกว่า 30 นาที และหนึ่งในค�าตอบของ ศ.เฮ่อ คือ เชื้อแบคทีเรียดังกล่าวได้ถูกยืนยันถึงความเสถียรของสารพันธุกรรม
จะท�าการติดตามและศึกษาเด็กทั้งสองคนต่อไปเป็นเวลา 18 ปี ซึ่ง ที่สามารถส่งถอดจากรุ่นสู่รุ่นได้ การกระท�าดังกล่าวท�าให้เกิดประเด็น
การกระท�าดังกล่าวท�าให้เกิดการถกเถียงและวิพากษ์วิจารณ์ในวงกว้าง ความขัดแย้งด้านศาสนามาเกี่ยวข้องและท�าให้เกิดความวิตกกังวล
หลายส�านักข่าวน�าเสนอว่าเป็นการทดลองดังกล่าวเป็นการเปิดกล่อง อย่างมากเกี่ยวกับการน�าเทคโนโลยีด้านพันธุวิศวกรรมมาใช้ในการ
แพนโดร่าของมวลมนุษย์ โดยทางการจีนได้รับหนังสือประท้วงจาก ดัดแปลงสิ่งมีชีวิตน�าไปสู่การใช้เป็นอาวุธชีวภาพ หรือการสั่งท�ามนุษย์
นักวิทยาศาสตร์จีนด้วยกันเองและมีใจความส่วนหนึ่งว่า “กล่องแพนโดรา ที่มีลักษณะในแบบที่ต้องการ
ถูกเปิดออกแล้ว พวกเรามีโอกาสไม่มากที่จะปิดมัน ก่อนที่ทุกอย่าง การศึกษาที่กล่าวมาข้างต้น ท�าให้เกิดความตื่นตัวอย่างมาก
จะสายเกินไป” เกี่ยวกับปัญหาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ในทุกสาขาวิชา โดยเฉพาะ
ในการศึกษาดังกล่าวมีประเด็นทางจริยธรรมการวิจัยหลายข้อ อย่างยิ่งในสายวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการตัดต่อพันธุกรรม โดยช่วง
เดือนมีนาคม ปี 2019 ได้มีการเรียกร้องให้นักวิทยาศาสตร์ชั้นน�า
ที่จ�าเป็นต้องพิจารณา ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการ Crispy-Cas9 ที่น�ามา ทั่วโลกให้หยุดการวิจัยเกี่ยวกับการตัดต่อพันธุกรรมในตัวอ่อนมนุษย์
ใช้ตัดต่อพันธุกรรมในตัวอ่อนที่ปัจจุบันยังไม่ทราบถึงผลกระทบใน ซึ่งสาขาอื่นๆ ที่มีการเก็บข้อมูลการวิจัยในคนอย่างสายสังคมศาสตร์
ระยะยาว ซึ่งมีรายงานการวิจัยบางฉบับบ่งชี้ว่าวิธีดังกล่าวมีความ รวมไปถึงการใช้ข้อมูลผู้ป่วยในเวชทะเบียนหรือการให้บุคคลท�า
สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็ง การติดตามเด็กทั้งสองคนไปจนอายุ 18 ปี แบบสอบถามนั้นก็ได้รับผลกระทบไปด้วย นั้นคืองานวิจัยเหล่านั้น
การเปิดเผยชื่อของเด็กทั้งคู่ในแวดวงวิชาการ และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม จ�าเป็นต้องผ่านการพิจารณาจริยธรรมงานวิจัย ของหน่วยงานต้นสังกัด
หลังการน�าเสนอในที่ประชุม ศ.เฮ่อ ถูกเรียกตัวกลับและถูกสอบโดย หรือหน่วยงานกลางต่างๆ เพื่อเป็นตัวคัดกรองในสิ่งที่ควรท�า และ
หน่วยงานเกี่ยวกับความมั่นคงของจีน ทว่าเมื่อพิจารณาสถานะทาง ไม่ควรท�า !!!