Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 วันที่ 6-12 พฤษภาคม 2562
P. 3

วันที่  ๖ - ๑๒ พฤษภาคม  ๒๕๖๒                         ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓















             HIS 1201 พื้นฐานวัฒนธรรมไทย
                               ชวนนักศึกษาเรียนให้รู้‘รากเหง้าของตนเอง’                               วันธรรมสวนะ   เจ้าหน้าที่ ม.ร.สาขาวิทยบริการฯ

                                                                                                      จังหวัดตรัง ร่วมโครงการ “ผู้ว่าฯ พาเข้าวัด วันธรรมสวนะ”

                                                                                                      (วันพระ) ครั้งที่ 2 ณ วัดหนองคล้า ต�าบลเขาวิเศษ
                                                                ส่วนการประเมินผล ประเมินจากการสอบ     อ�าเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง โดยมีนางณิทฐา

                                                         ปลายภาค ซึ่งเป็นข้อสอบแบบปรนัย 120 ข้อ แสวงทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง เป็นประธาน
                                                         ประกอบด้วย ค�าถามเกี่ยวกับด้านการปกครอง 30 ข้อ ในพิธี เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2562

                                                         ค�าถามเกี่ยวกับลักษณะสังคมไทยและเศรษฐกิจไทย
                                                         50 ข้อ ค�าถามเกี่ยวกับศาสนาและประเพณี และ
                                                         ศิลปกรรมไทย 40 ข้อ โดยลักษณะข้อสอบจะมี

                                                         ทั้งที่เป็นค�าถามที่ทดสอบความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
                                                         วิชาแต่ละตอน และการรู้จักน�าความรู้ความเข้าใจ
                                                         มาคิดวิเคราะห์บนหลักการของเหตุผล

                                                                อาจารย์ ดร.กิติยวดี บอกอีกว่า นักศึกษา  ร่วมร�าบวงสรวง       มหาวิทยาลัยรามค�าแหง
                                                         ที่สนใจเรียนวิชานี้ สามารถศึกษาจากต�าราเรียน  สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสุรินทร์
                  “คนเราต้องรู้รากเหง้าของตนเอง” อาจารย์   ซื้อได้ที่ส�านักพิมพ์ของมหาวิทยาลัย หรือหนังสือ ส่งบุคลากรเพื่อเข้าร่วมร�าบวงสรวงพระยาสุรินทร์ภักดี
           ดร.กิติยวดี ชาญประโคน หนึ่งในอาจารย์ผู้สอนวิชา  ประกอบการเรียนอื่นๆ ที่ระบุไว้ในตอนท้ายของ บริเวณอนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง

           HIS1201 พื้นฐานวัฒนธรรมไทย ชวนนักศึกษาทุกคณะ  แต่ละตอน ซึ่งจะมีบรรณานุกรมให้นักศึกษาได้    โดย นายพรพจน์ บัณฑิตยานุรักษ์ รองผู้ว่าราชการ
           เรียนวิชา HIS1201 เพื่อให้รู้ความเป็นมาของสังคมไทย  หาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองอีกมาก ยิ่งถ้าไม่มี  จังหวัดสุรินทร์ เป็นประธานน�าลูกหลานชาวสุรินทร์
           เรียนรู้อดีตมาถึงปัจจุบันให้คงเอกลักษณ์และด�ารง  โอกาสมาเข้าเรียนการอ่านท�าความเข้าใจไปทีละ  ประกอบพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การจัดงานฉลอง

           ตนในสังคมที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมได้       ประเด็น ทีละตอนที่สอนทั้ง 5 ตอน จะช่วยให้    สืบศรัทธาพระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง สมโภช
           อย่างมีความสุข                                แยกประเด็นให้เข้าใจได้ชัดเจน                 หลักเมือง และงานมหาสงกรานต์ประจ�าปี 2562
                  อาจารย์ ดร.กิติยวดี ชาญประโคน เผยถึง          นอกจากนั้น การเข้าสอบถามอาจารย์ผู้สอน  เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2562 เพื่อร�าลึกถึงคุณงาม
                                                                                                      ความดีของเจ้าเมืองสุรินทร์คนแรก คือ พระยาสุรินทร์
           จุดประสงค์ส�าคัญของวิชานี้คือ ให้นักศึกษาได้  อาจารย์จะช่วยให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ภักดีศรีณรงค์จางวาง ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
           ท�าความเข้าใจถึงความเป็นมาของสถาบันต่างๆ      สามารถอธิบายได้ถูกต้องถึงวิวัฒนาการการปกครอง ประเพณี และวัฒนธรรมของจังหวัดสุรินทร์

           ของไทย ทั้งในด้านการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ     ของไทย สังคมไทย เศรษฐกิจ วัฒนธรรมไทยด้าน     ประสานความร่วมมือ เสริมสร้างความสามัคคี
           ศาสนา และประเพณี และศิลปกรรม นับตั้งแต่สมัย   ศาสนา ประเพณีไทย และศิลปกรรมไทย ถ้าท�าตาม    ระหว่างประชาชน ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงาน
           สุโขทัยเป็นต้นมา จนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลง      แนวทางนี้แล้ว เชื่อว่านักศึกษาสอบผ่านแน่นอน  ต่างๆ ในเครือข่ายประเพณีและวัฒนธรรม

           การปกครองใน พ.ศ.2475 ทั้งนี้ เพื่อให้นักศึกษา        อาจารย์ ดร.กิติยวดี บอกด้วยว่า วิชานี้
           ได้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความเป็นมาของวัฒนธรรม  เรียนแล้วจะท�าให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ

           ไทย ซึ่งจะท�าให้เข้าใจถึงแนวทางของวัฒนธรรมไทย  สังคมไทย และสังคมโลก รู้จักคิด วิเคราะห์สถานการณ์
           ในปัจจุบัน ตลอดจนได้รู้จักตนเองและหน้าที่ของตน  สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง น�าไปสู่การมีค่านิยมที่
           ในฐานะที่เป็นคนไทยคนหนึ่งได้อย่างลึกซึ้งขึ้น  เหมาะสมในการจรรโลงวัฒนธรรมไทย สามารถ

                  เนื้อหาของวิชานี้มี 5 ตอน ประกอบด้วย   ด�ารงตนในสังคมที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม
           ตอนที่ 1 การปกครองของไทย ตั้งแต่ในสมัยสุโขทัย  ได้อย่างมีความสุข
           อยุธยา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนที่ 2 ลักษณะ         ที่ส�าคัญ นักศึกษาจะได้รู้รากเหง้าของตนเอง  ร่วมงาน Open House      คณะเจ้าหน้าที่

           สังคมไทย ในสมัยอาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักร     ว่า ลักษณะเด่นของคนไทยมีที่มาที่ไปอย่างไร เรา  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง  สาขาวิทยบริการเฉลิม
                                                                                                      พระเกียรติจังหวัดสงขลา ร่วมงานพิธีเปิดอาคาร
           ล้านนา ในสมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนที่ 3  จะต้องรักษาจุดเด่นที่ดีงามไว้เป็นเอกลักษณ์ให้คน  เรียนหลังใหม่ ชั้นอนุบาล Open house ของโรงเรียน
           เศรษฐกิจไทย สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี สมัย  อื่นได้รู้จักเรา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การยอมรับ หาดใหญ่วิทยาคาร เมื่อวันที่ 9 เมษายาที่ผ่านมา

           รัตนโกสินทร์ ตอนที่ 4 ศาสนาและประเพณี ศาสนา   ซึ่งกันและกัน อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบ และปรับตัวได้ ภายในงานมีการจัดนิทรรศการทางการศึกษา
           ที่มีผู้นับถือมากในไทย ประเพณีต่างๆ ของไทยที่ควรรู้  นักศึกษาจะได้รู้ถึงความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย การอัญเชิญคัมภีร์อัลกุรอาน การกล่าวถึงความเป็นมา

           และตอนที่ 5 ศิลปกรรมไทย ศิลปกรรมอันเนื่องใน   นั่นคือ การพัฒนาที่ดีงามของไทยตั้งแต่อดีตจนถึง  ของโรงเรียนและมอบของที่ระลึก การเสวนาหัวข้อ
           ศาสนา ตั้งแต่สมัยอาณาจักรทวารวดีจนถึงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบัน                                 ต่างๆ ของผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา  ทั้งนี้เพื่อเป็น
                  วิชานี้มีอาจารย์ผู้สอน 3 ท่าน คือ ผู้ช่วย     หากมีปัญหาเกี่ยวกับการเรียน นักศึกษา  การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัย

           ศาสตราจารย์ศุภรัตน์ ตี่คะกุล สอนตอนที่ 1 อาจารย์ สามารถติดต่ออาจารย์ผู้สอนได้ที่ ภาควิชาประวัติ-  รามค�าแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
           ธนกฤต ลออสุวรรณ สอนตอนที่ 2 และ 3 และ ศาสตร์ อาคาร 2 ชั้น 4 คณะมนุษยศาสตร์ หรือ            จังหวัดสงขลา และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาคาร
                                                                                                      ซึ่งมีพื้นที่ใกล้ชิดกัน และให้ความสนับสนุน ร่วมมือ
           อาจารย์ ดร.กิติยวดี ชาญประโคน สอนตอนที่ 4 และ 5 ทางเฟซบุ๊กเพจของภาควิชา HI_Hu.RU           ในด้านต่างๆ ด้วยกันเสมอมา
   1   2   3   4   5   6   7   8