Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 วันที่ 6-12 พฤษภาคม 2562
P. 5

วันที่  ๖ - ๑๒ พฤษภาคม  ๒๕๖๒                         ข่าวรามคำาแหง                                                              ๕

                                                                                 เศรษฐศาสตร์ 101
                                                                                 เศรษฐศาสตร์ 101






                                                                                 คณะเศรษฐศาสตร์                        รศ.อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม
            คณะมนุษยศาสตร์                                       อาจารย์ตูซาร์ นวย
                                                                                ตอน นักเรียนเศรษฐศาสตร์เขาเรียนอะไรกัน (2)
              การซื้อผลไม้ (4)

                                                                                        เมื่อตอนที่แล้วผมสรุปว่าคนเรียนเศรษฐศาสตร์นั้นเขาเรียนเกี่ยวกับอะไรไปได้
                    “ผลไม้” ภาษาเมียนมาพูดว่า         [อะตี้]                   แค่ครึ่งแรกของสาขาเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในตอนนี้จึงจะสรุปต่อให้จบเพื่อที่
           หรือ         [ติตี้] ประโยคตัวอย่างในการซื้อผลไม้เป็นภาษาเมียนมามีดังนี้  จะได้ต่อในส่วนเศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งน่าจะกินเนื้อที่เข้าไปอีก 2 ตอนเหมือนกัน

           ตัวอย่างบทสนทนา                                                              หลังจากที่เรียนเกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทานและการก�าหนดราคาตลาด
                                                                                ไปแล้ว คนที่เรียนเศรษฐศาสตร์จุลภาคขั้นพื้นฐานก็จะต้องเรียนทฤษฎีที่จะพิสูจน์
                                                                                กฎของอุปสงค์และกฎของอุปทานต่อไป  เริ่มจากการพิสูจน์กฎของอุปสงค์
           [เซ้แวตู]         [ตี้มเว้ งะปยอตี้ ตะพี้ เป้ปา]

           ลูกค้า           “ขอกล้วยหอมหนึ่งหวีค่ะ”                             ก่อนว่าท�าไมเมื่อราคาสินค้าใดแพงขึ้น อุปสงค์หรือความต้องการซื้อสินค้านั้น
                                                                                จึงลดลง ทฤษฎีที่ใช้อธิบายเรื่องนี้ในสมัยแรก ๆ จะเป็นทฤษฎีอรรถประโยชน์
                                                                                (utility) ซึ่งค�านี้แปลได้ง่าย ๆ ว่าความพอใจที่ได้จากการบริโภคสินค้าซึ่งจะสมมุติ
           [เซ้เย้าตู]        [ตี้มเว้ งะปยอตี้โก แบโล อะเน มโย้ โลชินแล้]      ว่าวัดค่าเป็นตัวเลขได้ ในการตัดสินใจซื้อสินค้าใดผู้ซื้อจะเปรียบเทียบความพอใจ
           คนขาย          “อยากได้กล้วยหอมแบบไหนครับ”                           ที่ได้รับเพิ่มจากสินค้าหน่วยนั้นกับความพอใจที่เสียไปจากการจ่ายเงินที่วัดค่าเป็น

                                                                                ตัวเลขได้เหมือนกัน ตราบใดความพอใจที่เพิ่มจากสินค้ายังมากกว่าความพอใจ
           [เซ้แวตู]         [แน้แน้ เซ้นเนเต้ตาโก เป้บา]                       ที่สูญเสียไปจากการจ่ายเงิน ผู้บริโภคก็จะรู้สึกคุ้มค่าที่ซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น
           ลูกค้า           “ขอแบบที่ยังดิบอยู่สักหน่อย”                                 เนื่องจากเมื่อคนได้สิ่งใดมากขึ้นเรื่อยๆ ความพอใจที่จะได้รับเพิ่มจาก
                                                                                สิ่งนั้นก็จะลดลงเช่นเสื้อตัวแรกที่ซื้อจะให้ความพอใจเพิ่มมากกว่าเสื้อตัวที่

           [เซ้เย้าตู]        [ดีเลาะ เซ้นเนเต้ยีน ยะมะล้า]                     2 และ 3 ในทางตรงข้ามถ้าเรามีเงินสัก 1 หมื่นบาทความพอใจที่สูญเสียไป
           คนขาย          “ถ้าดิบเท่านี้ จะได้ไหม”                              จากการจ่ายเงิน 1 พันบาทแรกซื้อเสื้อตัวที่ 1 อาจไม่มากนักเพราะยังมีเงิน
                                                                                เหลืออีกตั้ง 9 พัน แต่การจ่ายเงิน 1 พันบาทที่ 2 และ 3 เพื่อซื้อเสื้อตัวต่อไปนั้น
           [เซ้แวตู]         [โฮะแก้ ยะบาแด, ตะพี้โล้นโก แบเล่าแล้]             จะรู้สึกสูญเสียความพอใจไปมากกว่า ดังนั้นเมื่อซื้อสินค้ามากขึ้นความพอใจ
           ลูกค้า           “ได้ค่ะ ทั้งหวี เท่าไรหรือ”                         ที่ได้เพิ่มขึ้นจากสินค้าหน่วยหลัง ๆ จะลดลงอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ความพอใจ

                                                                                ที่สูญเสียไปจากการจ่ายเงินเพิ่มมากขึ้น ผลก็คือจากการที่ตอนแรกผู้ซื้อรู้สึก
           [เซ้เย้าตู]        [ตี้มเว้ งะปยอตี้ ตะพี้โก โต้นแซ่ง่า บะ ปา]       ว่าสินค้าที่ได้รับนั้นคุ้มค่าความสูญเสียจากการจ่ายเงินออกไป แต่เมื่อซื้อมาก
           คนขาย          “กล้วยหอมหนึ่งหวี 35 บาทครับ”                         หน่วยขึ้นความพอใจที่ได้รับเพิ่มก็จะไม่คุ้มกับที่ต้องสูญเสียไป
                                                                                        ด้วยเหตุผลนี้ท�าให้เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้นซึ่งแปลว่าความพอใจที่ต้อง

           [เซ้แวตู]         [ตะพี้โล้น มะยูแบ้ ตะแวะแป้ คแว้ยูยีน ยะมะล้า]     สูญเสียไปเมื่อจ่ายเงินซื้อสินค้าจะยิ่งมากขึ้น คนจึงซื้อสินค้าลดลงเพราะ
           ลูกค้า           “ถ้าแบ่งเป็นครึ่ง โดยไม่เอาทั้งหวี จะได้ไหม”        ความพอใจที่เพิ่มขึ้นจากสินค้านั้นไม่คุ้มค่าเมื่อเทียบกับความสูญเสียที่เกิด
                                                                                จากการจ่ายเงินแล้ว
           [เซ้เย้าตู]        [มะยะปาบู้, อะพี้ไล่แป้ เย้าปาแด]                         เนื่องจากทฤษฎีอรรถประโยชน์ถูกโจมตีว่าในความเป็นจริงนั้นคนเรา

           คนขาย          “ไม่ได้ครับ ขายเป็นหวีเท่านั้น”                       วัดความพอใจเป็นหน่วยตัวเลขไม่ได้ นักเศรษฐศาสตร์จึงเปลี่ยนมาใช้หลัก

           ค�าศัพท์จากบทสนทนา                                                   ความจริงว่าผู้บริโภคเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มสินค้าได้ว่าพอใจกลุ่มใดมากกว่า
                                                                                น้อยกว่าหรือเท่ากันเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น และสร้างเส้นที่เรียกว่าเส้นความ
                         [ตี้ มเว้ งะ ปยอ ตี้]   กล้วยหอม                       พอใจเท่ากัน (indifference curve)ขึ้นเพื่อมาวิเคราะห์ร่วมกับเส้นงบประมาณ
                         [ตะ พี้]              หนึ่งหวี                         ที่เป็นตัวแทนราคาและงบประมาณที่มีจ�ากัดในการเลือกซื้อสินค้า 2 กลุ่ม

                         [โล ชีน]              อยากได้                          (ที่วิเคราะห์สินค้าได้แค่ทีละ 2 กลุ่มเพราะรูปกราฟมีแค่ 2 แกน)
                         [แน้ แน้]             เล็กน้อย, นิดหน่อย                                                                         (อ่านต่อหน้า 11)

                         [เซ้น]                ดิบ, ยังไม่สุก
                         [ตะพี้โล้น]           ทั้งหวี                           2.
                         [โต้นแซ่ง่า บะ]       35 บาท                            [ตี้มเว้งะปยอตี้ มะชิยีน พี้จ้านงะปยอตี้ ชิล้า]

                         [ตะ แวะ]              ครึ่งหนึ่ง                        “ถ้าไม่มีกล้วยหอม มีกล้วยน�้าว้าไหม”
                         [คแว้]                แบ่ง                              3.
                  ในบทสนทนาประโยคที่ใช้ว่า                                       [งะปยอตี้ อะแม่ลูนยีน ซ้าโล่มะเก้าบู้]

           [ดีเลาะ เซ้นเนเต้ยีน ยะมะล้า] แปลว่า “ถ้าดิบเท่านี้ จะได้ไหม”  ในประโยค  “ถ้ากล้วยสุกเกินไป ไม่อร่อย”
           นี้ ค�าว่า       [ยีน] แปลว่า “ถ้าหากว่า” ใช้เป็นค�าเชื่อมประโยคสถานการณ์    4.
           ค�าว่า        [ยีน] มาเติมท้ายประโยคแรกที่เป็นสถานการณ์ แล้วต่อด้วย   [เมียนมาโม่นฮี้นก้า แชะยีน งะปยออู แท่แชะยะแด]
           ประโยคที่ต้องการพูด ซึ่งการใช้ไม่เหมือนกับภาษาไทย                     “ถ้าท�าขนมจีนเมียนมา ต้องใส่หยวกกล้วย”
                  ยกตัวอย่าง เช่น                                                5.

           1.                                                                    งะปยอพู้โก โลชีนยีน อะละก้า เป้ไล่แม]
           [งะปยอตี้ เซ้นเนเต้ยีน มะซ้าบู้]                                      “ถ้าอยากได้หัวปลี จะให้ไปฟรี”

           “ถ้ากล้วยยังดิบอยู่ ไม่กิน”
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10