Page 4 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 วันที่ 6-12 พฤษภาคม 2562
P. 4

๔                                                    ข่าวรามคำาแหง                         วันที่  ๖ - ๑๒ พฤษภาคม  ๒๕๖๒



                 รู้ทักษะ รู้การเขียนค�าตอบ พิชิตเกรด A



                                        จากอาจารย์คณะรัฐศาสตร์                                                                  ศิริภรณ์ นามพงษ์



                  หน่วยกิจการนักศึกษา ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย                  อาจารย์ ดร.วิลาสินี พิบูลย์เศรษฐ์ กล่าวว่า กลุ่มวิชาความสัมพันธ์

           รามค�าแหง จัดอบรม “ทักษะการตอบข้อสอบปรนัย-อัตนัย ในสายวิชา           ระหว่างประเทศ เป็นองค์ความรู้ขนาดใหญ่ที่ผู้เรียนต้องศึกษาเนื้อหา
           รัฐศาสตร์” โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพรัตน์ บุบผะศิริ            ทั้งในและนอกประเทศ เรียกได้ว่าเป็นการสอนที่ครอบคลุมหลักความรู้

           รองคณบดีคณะรัฐศาสตร์ เป็นประธาน มีอาจารย์นพพล ผลอำานวย               จากทั่วโลก และต้องอาศัยการจดจ�า
           อาจารย์ประจ�ากลุ่มวิชาการปกครอง อาจารย์ ดร.วิลาสินี พิบูลย์เศรษฐ์    อย่างดี ให้มีแต่ความรู้ที่ถูกต้อง

           อาจารย์ประจ�ากลุ่มวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อาจารย์              ชัดเจน แม่นย�า และทันสมัยอยู่
           ดร.ปะการัง ชื่นจิตร อาจารย์ประจ�ากลุ่มวิชาบริหารรัฐกิจ เป็นวิทยากร   ตลอดเวลา เพราะเหตุการณ์โลก

           เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 ณ ห้องประชุมนักบริหารชั้น 4 อาคาร         เปลี่ยนไปแทบทุกวัน มีหลายสิ่ง
           รัฐศาสตร์                                                            เกิดขึ้นจากทุกมุมโลก ข้อสอบจึง

                                                  โอกาสนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์   เปลี่ยนไปตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
                                               ดร.ทิพรัตน์ บุบผะศิริ กล่าวว่า   ในช่วงนั้น หากนักศึกษาไม่สนใจเรื่องรอบตัว หรืออ่านหนังสือที่ถูกพิมพ์

                                               วิชาส่วนใหญ่ในคณะรัฐศาสตร์       มาแล้วหลายปีอย่างเดียว ก็อาจจะท�าข้อสอบไม่ได้อย่างที่หวังไว้
                                               มีการวัดผลด้วยข้อสอบแบบ                 ข้อสอบในภาควิชานี้เป็นการท�าข้อสอบแบบอัตนัย มีวิชาเดียว

                                               อัตนัยมากกว่าข้อสอบแบบ           ที่เป็นปรนัย ซึ่งก็เป็นปรนัยที่ต้องใช้ความจ�าในการสอบเช่นกัน
                                               ปรนัย บางคนถนัดการท�า            สิ่งส�าคัญที่นักศึกษาจะต้องสังเกตในการท�าข้อสอบ คือการอ่านโจทย์

                                               ข้อสอบอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ไม่   และวิเคราะห์ว่าในโจทย์นั้นถามหาสิ่งใด ถามอะไรบ้าง มีสิ่งที่ต้องตอบ
                                               สามารถหลีกเลี่ยงอีกอย่างไปได้    กี่อย่าง แน่นอนว่าในโจทย์ 1 ข้อ อาจไม่ได้ต้องการเพียงค�าตอบเดียว

           วันนี้มีอาจารย์ผู้สอน และผู้ออกข้อสอบ มาแนะน�าการตอบข้อสอบ           นักศึกษาจะต้องล�าดับค�าตอบให้ถูก ว่าค�าตอบไหนควรตอบก่อนหรือ
           อย่างถูกวิธี เพื่อเป็นประโยชน์ให้กับนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม ให้มี  ตอบทีหลัง การตอบโดยมีบทน�า ล�าดับเหตุการณ์ ตัวอย่างประกอบ

           ทักษะในการตอบทักษะในการเตรียมตัวอ่านหนังสือ ซึ่งสามารถ               จะท�าให้ค�าตอบของข้อนั้นสมบูรณ์ขึ้น และอย่าเผลอเขียนค�าตอบ
           ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการท�าข้อสอบมากขึ้น                         นอกเหนือจากค�าถาม อย่าท�าข้อสอบเกินจ�านวนข้อที่อาจารย์ก�าหนดไว้

                  ด้านวิทยากร อาจารย์นพพล ผลอำานวย กล่าวว่า ข้อสอบปรนัย         เพราะไม่แน่ว่าอาจารย์อาจจะให้คะแนนในข้อที่เราไม่มั่นใจ เพราะฉะนั้น
           เป็นการวัดผลความแม่นย�า ผู้เรียน                                     อ่านโจทย์ให้ชัด เขียนค�าตอบให้มั่นใจ ท�าเท่าที่อาจารย์ก�าหนด

           จะต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นอย่าง                                     คะแนนที่ต้องการก็เป็นของเราแล้ว
           ถูกต้องเพื่อจะได้เลือกค�าตอบ                                                อาจารย์ ดร.ปะการัง ชื่นจิตร

           ที่ถูกที่สุดให้โจทย์ในแต่ละข้อ                                       กล่าวว่า การอ่านหนังสือสอบเพียง
           ส่วนข้อสอบแบบอัตนัย จะใช้                                            รอบเดียวไม่ช่วยให้ท�าข้อสอบได้

           ความรู้ความเข้าใจในการตอบ                                            แต่อาจท�าให้เกิดความงงงันจาก
           ข้อสอบ โดยปัญหาที่เจอส่วนใหญ่ คือนักศึกษาอ่านโจทย์ไม่เข้าใจ          เนื้อหาที่เยอะมาก ๆ ในหนังสือ

           ไม่สามารถตอบได้ว่าโจทย์ ต้องการให้ตอบอะไรลงไป ไม่รู้ว่าต้องเขียน     ดังนั้นการอ่านหนังสือที่ถูกต้อง
           แบบไหน สิ่งที่ถามมานั้นไม่ตรงกับสิ่งที่อ่านหนังสือมา ความไม่         จึงควรอ่านอย่างน้อย 3 รอบ คืออ่านก่อนทั้งเล่มเพื่อให้รู้ว่าในหนังสือ

           เข้าใจนี้ส่งผลให้ไม่เข้าใจในความสัมพันธ์ของค�าถามและค�าตอบ           มีอะไรบ้าง อ่านอีกครั้งตามหัวข้อใหญ่ ๆ หรือส่วนส�าคัญที่อาจารย์
                                                                                สอนในห้อง และอ่านอีกรอบโดยการช็อตโน้ตเนื้อหาที่ส�าคัญ ข้อความ
           นักศึกษาจะไม่รู้ว่าต้องเขียนอะไรลงไปเขียนค�าตอบอย่างไร หรือ          ควรจ�า หรือท�ามายแมพสรุปเนื้อหาให้เราเข้าใจโดยง่าย เมื่อเราเข้าใจ

           จะเรียกว่าไม่สามารถล�าดับค�าตอบได้นั่นเองและจะมารู้ตัวอีกที          ในเนื้อหามากพอแล้ว การทดลองท�าข้อสอบเก่า ๆ ก็ช่วยให้เรา
           ตอนผลสอบออกมาว่าตกไปแล้ว                                             ตอบค�าถามได้แม่นขึ้น และหากท�าข้อสอบด้วยการจับเวลา เราจะ

                  วิธีเตรียมตัวง่าย ๆ ในการท�าข้อสอบอัตนัยมีเพียงไม่กี่ข้อ      สามารถท�าข้อสอบในห้องสอบได้อย่างตรงเวลา ไม่ต้องกังวลว่าจะท�าไม่ทัน
           เริ่มจากการอ่านโจทย์ นักศึกษาจะต้องอ่านโจทย์ให้เคลีย เข้าใจลักษณะ           เคล็ดลับอีกอย่างที่อาจารย์ปะการังฝากไว้ คือถ้าหากวิชาที่

           ของค�าถามว่าต้องการอะไรมีประเด็นไหนที่ต้องตอบ หรือต้องอธิบาย         เข้าสอบนั้นเป็นวิชาที่มีข้อมูลเยอะมาก ๆ และต้องใช้ความจ�าใน
           หัวข้อไหนกันแน่ รวมถึงอาจเป็นโจทย์วิเคราะห์ เปรียบเทียบหา            การสอบ เมื่อเข้าไปข้างในห้องสอบแล้ว ให้เราเขียนข้อส�าคัญที่คิดว่า

           ความสัมพันธ์ เมื่อเรารู้แล้วว่าโจทย์ต้องการอะไร เราต้องมาวิเคาระห์   เป็นประโยชน์ไว้ที่กระดาษเสียก่อน เพราะค�าถามในวิชาพวกนี้จะมี
           ว่าในโจทย์นั้นมีองค์ความรู้ ข้อมูล ข้อโต้แย้ง หรือความสัมพันธ์       ลักษณะที่ซับซ้อน อ่านโจทย์แล้วอาจลืมค�าตอบที่เตรียมมาก็ได้
                                                                                แต่หากเราเขียนความส�าคัญไว้ เรายังพอจะทบทวนสิ่งเหล่านั้นอีกครั้ง
           ในค�าถามอย่างไร โดยนักศึกษาสามารถร่างค�าตอบเป็นล�าดับขั้น            ได้ก่อนตอบ และในขณะท�าข้อสอบ ไม่ควรลนลานท�าข้อสอบตั้งแต่
           ก่อนเขียนค�าตอบลงไป และสุดท้ายฝากไว้ว่า การเขียนข้อสอบแบบ            ครั้งแรก ข้อไหนคิดไม่ออกจริง ๆ ให้ข้ามไป เพราะหากด่วนตอบไปเลย

           อัตนัย ต้องตอบอย่างคิดวิเคราะห์ผสมผสานกับความเข้าใจบุคคล             ค�าตอบนั้นอาจผิดพลาด หรือมัวคิดหาค�าตอบในข้อนั้นก็อาจท�าให้
           เขียนให้อ่านง่ายเข้าใจง่าย ซึ่งสามารถฝึกได้ด้วยการเขียนค�าตอบบ่อยๆ   เสียเวลาท�าข้ออื่น เสี่ยงท�าไม่ทันและได้ค�าตอบที่ผิดพลาดด้วย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9