Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 28 วันที่ 22 - 28 ตุลาคม 2561
P. 3

วันที่ ๒๒ - ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓











                                                                                 เปิดต�ำรำเผยไต๋ THA 1003
                                 แนะกลเม็ดเด็ด                                  แนะ นศ.ผ่ำนฉลุยด้วยควำมเข้ำใจ

                                 พิชิต THA 1002                                       พบอาจารย์ผู้สอนภาษาอังกฤษไปแล้ว  ก็ต้องพาไปพบอาจารย์ผู้สอนภาษาไทย



                                                                               โดยฉบับนี้ ผศ.ดร.สหะโรจน์ พาเปิดต�าราเผยไต๋ THA1003 การเตรียมเพื่อการพูดและ
                                                                                 การเขียน  แนะนักศึกษาท�าข้อสอบผ่านฉลุย  จากการอ่านอย่างเข้าใจ ไม่เพียงท่องจ�า
                  ผศ.ดร.สรตี  ปรีชาปัญญากุล  อาจารย์ประจ�า                            ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ อาจารย์ประจ�าภาควิชาภาษาไทย
           วิชา THA 1002 ความรู้ทั่วไปทางวรรณคดีไทย แนะ                        และภาษาตะวันออก  คณะมนุษยศาสตร์ ผู้สอนวิชา THA 1003 การเตรียมเพื่อการพูดและการ
           เทคนิคง่ายๆ ให้นักศึกษาเข้าใจ และคว้า A มาครอง                      เขียนบทที่ 1-3 และบทที่ 12 ร่วมกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เบญจภัคค์
           โดยเปิดเผยว่า วิชานี้ศึกษาวรรณคดีแนวศิลป์ ศึกษา                     เจริญมหาวิทย์ สอนบทที่ 4-6 และบทที่11 และ
           วิวัฒนาการของวรรณคดีไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย                           ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.สุภัทรา  บุญปัญญโรจน์
           ถึงปัจจุบัน การแบ่งประเภทและลักษณะของวรรณคดีไทย                     สอนบทที่ 7-10
           และศัพท์ที่ใช้ทางวรรณคดี  โดยมีอาจารย์ผู้สอน 3 คน                          ผศ.ดร.สหะโรจน์  พูดถึงเนื้อหาของวิชา
           ประกอบด้วย รศ.อดุลย์ ตะพัง   ผศ.ดร.สายวรุณ                          THA 1003 ว่าวิชานี้แบ่งเป็นภาคการเขียน บทที่
           สุนทโรทก และ ผศ.ดร.สรตี  ปรีชาปัญญากุล                              บทที่ 1-6  และภาคการพูด บทที่ 7-12  โดย
           หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนมีทั้งหมด 3 เล่ม คือ                     ภาคการเขียนจะเริ่มจากการเตรียมเนื้อหา
           ต�ารา THA 1002 ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดีไทย โดย ศาสตราจารย์คุณหญิงกุหลาบ   และการจัดระเบียบความคิด ซึ่งนักศึกษาจะ
           มัลลิกะมาส และหนังสืออ่านนอกเวลา เรื่อง ศิลาจารึกพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช และ  ต้องเข้าใจหลักการรวบรวม คัดสรร และเรียง
           ลิลิตพระลอ                                                          ล�าดับข้อมูล เพื่อจะท�าให้เรื่องที่พูดหรือเขียนประกอบด้วยเนื้อหาที่ดีมีน�้าหนัก น่าสนใจ และ
                  เนื้อหากระบวนวิชา ประกอบด้วยความหมายของค�าที่หลายคนมักจะสับสน  ท�าให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างราบรื่น
           กันระหว่าง “วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณศิลป์” และการแบ่งประเภทของวรรณคดีไทย
                                                                                      ต่อด้วยการเตรียมโครงเรื่อง  เป็นขั้นตอนต่อจากการเตรียมเนื้อหาและการจัด
           ประกอบด้วย วรรณคดีประเภทร้อยแก้ว ร้อยกรอง และบทละคร ซึ่งทั้งสามประเภท    ระเบียบความคิด  เปรียบกับการเขียนแปลนบ้านให้มองเห็นเป็นรูปร่างก่อนลงมือสร้างจริง
           มีแนวทางในการจ�าแนกที่ชัดเจน โดยนักศึกษาต้องเข้าใจวรรณคดีในแต่ละประเภท   นักศึกษาต้องดึงประเด็นของเรื่องให้เป็นแล้วน�ามาเขียนเป็นโครงเรื่องให้ได้ ส่วนเรื่อง
           รวมถึงการบอกแง่งามของวรรณคดีได้ว่ามีความงามที่โดดเด่นในด้านใด เช่น การใช้ค�า   การเตรียมย่อหน้า คือกลุ่มของประโยคที่มารวมกัน  โดยแต่ละย่อหน้าจะมีใจความส�าคัญ
           เสียงเสนาะ ลีลาจังหวะ การเล่นค�า การสื่อความหมาย และการใช้กวีโวหาร เป็นต้น  ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสาร  นักศึกษาจะต้องหาใจความส�าคัญจากย่อหน้าที่ยกมาไว้ใน
                  เนื้อหาอีกส่วนหนึ่งที่นักศึกษาต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ คือ ความเป็นมาของ  ข้อสอบ  โดยมีเทคนิคให้หาประโยคที่ครอบคลุมความคิดทั้งหมด มีความโดดเด่น  ที่เหลือ
           วรรณคดีไทย ในกระบวนวิชานี้ยังไม่ลงลึกถึงเนื้อหาของวรรณคดีในแต่ละเล่ม แต่ละเรื่อง   จะเป็นประโยคสนับสนุน
           หากแต่นักศึกษาจ�าเป็นต้องทราบว่าวรรณคดีเรื่องนั้น ๆ อยู่ในยุคสมัยใด ใครเป็นคนแต่ง      ส�าหรับเรื่องการใช้ค�า จะว่าง่ายก็ง่าย จะว่ายากก็ยาก เพราะบางค�า หากใช้
           และมีลักษณะพิเศษเฉพาะเล่มรวมถึงลักษณะร่วมสมัยของวรรณคดีนั้น ๆ อย่างไร   สลับกัน ความหมายจะเปลี่ยน  และค�าในภาษาไทยมีความหลากหลาย ทั้งความหมายตรง
           เริ่มตั้งแต่สมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา (แบ่งเป็นตอนต้น ตอนกลาง ตอนปลาย) กรุงธนบุรี  และความหมายแฝง เช่น ดาว ความหมายตรงคือ สสารหรือสะเก็ดที่อยู่บนท้องฟ้า
           กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1 – 3) และวรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 4 – 6  ในอวกาศ  ขณะที่ ดาว ในความหมายแฝง หมายถึงบุคคลที่มีความโด่งดัง เป็นศิลปิน
                  นอกจากนี้แล้ว นักศึกษาควรจะเข้าใจลักษณะของวรรณคดีไทย โดยสามารถ  ดารา เป็นต้น  และยังมีค�ายืมจากภาษาต่างประเทศ เช่นภาษาอังกฤษ ภาษาบาลี ภาษา
           สรุปได้ว่า วรรณคดีไทยระยะเวลาก่อนรับอิทธิพลตะวันตกมีลักษณะเป็นเช่นไร ได้แก่  สันสกฤต ภาษาเขมร เป็นต้น  ดังนั้นเรื่องของค�าและการใช้ค�าจึงจ�าเป็นต้องอาศัยความ
           เรื่องอะไรบ้าง และวรรณคดีไทยหลังรับอิทธิพลตะวันตก มีสิ่งใดที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม   ประณีตและทักษะในการใช้  ต้องเข้าใจและท่องจ�าให้แม่นเพื่อระวังไม่ใช้ค�าผิดความหมาย
           นิยมแนวทางการเขียนวรรณคดีแบบใด ไล่เรียงมากระทั่งถึงวรรณคดีประเภทร้อยแก้ว   โดยเฉพาะค�าที่มักใช้ผิดความหมายหรือใช้สลับกัน ในบทที่ 11 จะออกข้อสอบบ่อยมาก
           และร้อยกรองในปัจจุบัน                                                      ส่วนเรื่องประโยค จะมีประโยคประธาน ประโยคกริยา ประโยคกรรม ที่มี
                  สิ่งที่ละเลยไม่ได้คือ หนังสืออ่านนอกเวลาทั้งสองเล่ม โดยศิลาจารึกพ่อขุน  ความหมายเดียวกัน  แต่ล�าดับค�าไม่เหมือนกัน  และมีประโยคความเดียว เป็นประโยคเล็ก
           รามค�าแหงมหาราช นักศึกษาต้องบอกที่มา ความส�าคัญ เนื้อหา รวมถึงความหมายของ  หรือประโยคสามัญที่มีความหมายเฉพาะอย่างหนึ่ง ประโยคความรวม คือประโยคความ
           ค�าศัพท์ที่ส�าคัญได้ ส่วนลิลิตพระลอนั้น นักศึกษาควรเล่าเรื่องราวทั้งหมดได้ ท�าความ  เดียวที่น�ามารวมกันแล้วเชื่อมด้วยค�าสันธาน และประโยคความซ้อน คือประโยคความ
           รู้จักกับตัวละคร บทบาทที่ส�าคัญของแต่ละตัว เนื้อหา เรื่องราว ล�าดับเหตุการณ์ของเรื่อง   เดียวที่มีอนุประโยคเข้ามาแทรก ซึ่งนักศึกษาจะต้องเข้าใจหลักส�าคัญของแต่ละประโยค
           รวมถึงลักษณะของความเป็นลิลิต                                        รวมทั้งต้องให้ความส�าคัญกับบทที่ว่าด้วยพจนานุกรมด้วย เพราะฝึกให้นักศึกษารู้จักการ
                  เคล็ดลับการท�าความเข้าใจเนื้อหาวิชานี้ คือ การท�าความรู้จักกับวรรณคดีทุกเรื่อง   ค้นคว้าค�าต่าง ๆ และเข้าใจหลักการใช้พจนานุกรมมากขึ้น
           โดยสามารถบอกได้ว่าใครเป็นผู้แต่ง มีที่มาและวัตถุประสงค์ของวรรณคดีในแต่ละเรื่อง     จบภาคการเขียน ผศ.ดร. สหะโรจน์ กล่าวถึงภาคการพูดต่อไปว่าวิธีการพูดมี
           อย่างไร เมื่อท�าความเข้าใจได้ทุกเรื่องแล้ว สามารถน�ามาหลอมรวมสรุปภาพวรรณคดี  หลากหลาย เช่น การพูดแบบท่องจ�า การพูดโดยอ่านจากต้นฉบับ การพูดจากการอ่าน
           ของยุคสมัยนั้น ๆ ได้อีกล�าดับ                                       ต้นร่าง เป็นต้น  โดยอาศัยความรู้ด้านการเตรียมเนื้อหาและการจัดระเบียบความคิด
           แนวข้อสอบ- เนื้อหาความรู้พื้นฐานทางวรรณคดี ประเภทของวรรณคดี ลักษณะของ  และการวางโครงเรื่องเช่นเดียวกับการเตรียมเพื่อการเขียน  โดยทักษะด้านการพูดนี้
           วรรณคดี 25 ข้อ,วรรณคดีสมัยสุโขทัย 10 ข้อ, วรรณคดีสมัยอยุธยา 20 ข้อ, วรรณคดี  จะเอื้อให้นักศึกษาน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ถูกกาลเทศะ ทั้งมารยาทและลีลาในการพูด
           สมัยธนบุรี 5 ข้อ, วรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 1 – 3 10 ข้อ, วรรณคดีสมัยรัชกาลที่ 5 – 6    ที่เหมาะสมและมีศิลปะ  โดยข้อสอบจะไม่เน้นเพียงเนื้อหาในต�ารา  แต่จะมีโจทย์ที่
           20 ข้อ, อ่านกวีนิพนธ์บทที่ยกมาให้ โดยใช้หลักเกณฑ์ในการอ่านร้อยกรองมาตอบ  ประยุกต์กับชีวิตประจ�าวันด้วย  โดยใช้หลักจากในต�าราเป็นส�าคัญ
           ค�าถาม 10 ข้อ, ศิลาจารึกพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช 10 ข้อ  ลิลิตพระลอ 10 ข้อ     “หัวใจส�าคัญของวิชา THA 1003 คือความเข้าใจในหลักของการใช้ภาษาในการ
           รวมทั้งสิ้น 120 ข้อ ก�าหนดเวลาสอบ 2 ชั่วโมง 30 นาที                 พูดและการเขียน  และการน�าไปใช้ที่ไม่ใช่แค่ท่องจ�าแล้วไปสอบ  เพราะหากอ่านแล้วเข้าใจ
                  ผศ.ดร.สรตี กล่าวทิ้งท้ายว่า THA 1002 เป็นกระบวนวิชาที่มีเนื้อหามาก ศึกษา จะสามารถน�าไปใช้ได้ทั้งในห้องสอบและในชีวิตประจ�าวัน”
           วรรณคดีตั้งแต่แรกเริ่มจนมาถึงปัจจุบัน หากจะเปรียบแล้วคล้ายกับการขี่จักรยาน    ข้อสอบวิชานี้ มี 120 ข้อ  ผศ.ดร. สหะโรจน์  เผยเทคนิคการท�าข้อสอบว่าต้อง
           ชมสวน ซึ่งผู้เรียนต้องมีแผนที่ในการขี่จักรยานและค่อยเรียนรู้การขี่จักรยานในแต่ละ ท�าทุกข้อ  และเดาอย่างมีหลักเกณฑ์  คือ ข้อสอบ 1 ข้อมี 4 ตัวเลือก พยายามตัดให้เหลือ
           ด่านเรื่อยไป เมื่อถึงจุดหมายปลายทาง คุณจะได้แผนที่ซึ่งมีเส้นทางการเดินทาง  2 ตัวเลือกและเลือกข้อที่คาดว่าถูกต้องที่สุด  หากยังไม่มั่นใจให้จุดไว้ก่อนในกระดาษค�าตอบ
           ภาพทิวทัศน์สองข้างทาง และจุดแวะพักที่ต้องดูรายละเอียด ซึ่งเป็นภาพรวมทั้งหมด แล้วท�าข้อต่อไป  หากมีเวลาค่อยกลับมาทบทวนซ�้าอีกครั้ง  หรือหากมีเวลาน้อยก็
           ของสวนนั้น กล่าวคือ นักศึกษาจะรู้จักวรรณคดีของไทยตั้งแต่ยุคแรกเริ่มจนถึง สามารถฝนค�าตอบลงไปได้เลย  เพราะอย่างน้อยก็เป็นค�าตอบที่ผ่านตาและผ่านการ
           ปัจจุบัน เพื่อเป็นพื้นฐานในการต่อยอดการเรียนรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องต่อไป  คัดเลือกมาแล้ว
                                                                                                                                                                (อ่านต่อหน้า 11)
   1   2   3   4   5   6   7   8