Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 13 วันที่ 9 - 15 กรกฎาคม 2561
P. 6

๖                                                       ข่าวรามคำาแหง                            วันที่ ๙ - ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑



                     Hints for Health
                                                                                 อาหารเสริมคร่าชีวิตมนุษย์ได้อย่างไร ?



            วิ่งกลางแจ้ง vs. วิ่งลู่ และ เครื่องปั่นจักรยาน vs.                  อาจารย์นาตยา ไชยเวียง                 อาจารย์ประจำาคณะทัศนมาตรศาสตร์

                                                                                      ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร  หรือ  อาหารเสริม  (dietary  supplements)  หมายถึง
            ปั่นจักรยานกลางแจ้ง แบบไหนดีกว่ากัน                                   ผลิตภัณฑ์ที่ใช้รับประทานนอกเหนือจากการรับประทานอาหารตามปกติ


            อาจารย์คัคนางค์ ประไพทรัพย์         ภาควิชาพลานามัย คณะศึกษาศาสตร์  (conventional foods) ประกอบไปด้วยสารอาหารหรือสารอื่น ๆ ที่มิใช่สารอาหาร

                                                                                เช่น เอนไซม์ เส้นใยอาหาร สมุนไพร สารสกัดจากพืชหรือสัตว์ เป็นต้น รูปแบบ
                                                                                ของผลิตภัณฑ์จะมีลักษณะเป็นเม็ด  แคปซูล  ผง  เกล็ด  ของเหลวหรือ

                                                                                ลักษณะอื่นๆ  ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจัดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ส�าหรับบุคคลทั่วไป
                                                                                           1
                                                                                ที่ต้องการดูแลสุขภาพหรือส่งเสริมให้สุขภาพแข็งแรง  ดังนั้นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
                                                                                จึงไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรคแต่อย่างใด ในปัจจุบันผลิตภัณฑ์เสริม

                                                                                อาหารชนิดต่าง ๆ จะต้องได้รับการรับรองความปลอดภัย จากส�านักงาน

                                                                                คณะกรรมการอาหารและยา (Food and Drug Administration) เมื่อผลิตภัณฑ์
                                                                                เสริมอาหารเหล่านั้นผ่านการอนุมัติ  ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา

                                                                                จะออกเลขที่ทะเบียนของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพื่อยืนยันความปลอดภัย

                                                                                ของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทลดน�้าหนักหรือ
                                                                                ลดความอ้วนบางชนิดแอบลักลอบเพิ่มสารเคมีบางอย่างหรือกลุ่มยาบางประเภท
                หลายครั้งที่มีการโต้เถียงกันเรื่องการออกก�าลังกายว่าการจะท�ากิจกรรม

          แบบใดให้ได้ประโยชน์สูงสุด  บ้างชอบแบบในร่ม  บ้างชอบแบบกลางแจ้ง        ลงไปในส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์โดยไม่แจ้งต่อส�านักงานคณะกรรมการ
          แต่ละแบบมีทั้งข้อดี  และข้อเสียแตกต่างกันไป  จึงมีงานวิจัยที่ทดสอบเรื่องการ  อาหารและยา เพื่อหวังผลการออกฤทธิ์ลดน�้าหนักของสารเคมีหรือยาเหล่านั้น

          ออกก�าลังกาย  เพื่อเปรียบเทียบจ�านวนแคลอรี่  อัตราการเต้นของหัวใจ  สถิติ   เนื่องจากว่าสารเหล่านั้นสามารถออกฤทธิ์โดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลาง
          การบาดเจ็บ และความรู้เกี่ยวกับการออกก�าลังกาย เพื่อเป็นแนวทางในการเลือก  จึงสามารถช่วยลดน�้าหนักหรือลดความอ้วนได้เป็นอย่างดี
          กิจกรรมการออกก�าลังกายของคุณต่อไป                                           ยา Sibutramine หรือ ยาไซบูทรามีน เป็นสารเคมีอินทรีย์ ลักษณะเป็น

                        วิ่งกลางแจ้ง vs. วิ่งลู่ (บนลู่วิ่ง หรือ Treadmill)     ผงแป้งสีขาว คล้ายเกลือหรือน�้าตาล ไม่มีกลิ่น ยาชนิดนี้ได้รับการรับรองจาก

                                                                                                                           2
           วิ่งกลางแจ้ง vs. วิ่งลู่ (บนลู่วิ่ง หรือ Treadmill)                  องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาในปี  2540   ว่าออกฤทธิ์ลดปริมาณ
                                                                                คอเลสเตอรอล จึงสามารถใช้ลดน�้าหนักในผู้ป่วยโรคอ้วนได้ แต่ต้องมีแพทย์
                                 วิ่งกลางแจ้ง      วิ่งลู่  กิจกรรมที่ดีกว่า
                                                                                เป็นผู้พิจารณาการใช้ยาเท่านั้น เนื่องจากว่ายาไซบูทรามีนมีคุณสมบัติออกฤทธิ์
            แคลอรี่ที่เผาผลาญได้  970 แคลอรี่   661 แคลอรี่    กลางแจ้ง         ต่อระบบประสาทส่วนกลาง โดยออกฤทธิ์ยับยั้งการดูดกลับของสารสื่อประสาท

                 ใน 1 ชม.                                                       ในสมอง  ที่มีชื่อว่า  ซีโรโทนิน  (serotonin)  และนอร์เอพิเนฟริน  (norepinephrine) 3,4

           อัตราการเต้นของหัวใจ 163 ครั้งต่อนาที 129 ครั้งต่อนาที  กลางแจ้ง     ดังภาพที่ 1 ซึ่งสารสื่อประสาทเหล่านี้มีบทบาทส�าคัญคือ ควบคุมการอยากอาหาร

                                                                                (appetite) จึงท�าให้ผู้ที่บริโภคยาไซบูทรามีนนี้สามารถรับประทานอาหาร
                ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ : การวิ่งบนลู่วิ่ง เป็นการใช้กล้ามเนื้อในส่วน
          เดิมซ�้าๆ รับแรงกระแทกซ�้าๆ ด้วยความเร็วเท่ากัน บ้างก็มีการใช้การก้าววิ่งที่ผิด  ได้น้อยลง ส่งผลให้น�้าหนักลดลงตามไปด้วย  (อ่านต่อหน้า 7)

          จากเดิมบนลู่วิ่ง ท�าให้เกิดการใช้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นบางส่วนเกินอัตรา เช่น ต้นขา     ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ : การปั่นจักรยานกลางแจ้งมีการบาดเจ็บ
          และเอ็นร้อยหวาย เป็นต้น                                              มากกว่าการปั่นโดยใช้เครื่องปั่นจักรยาน  เพราะจะมีอาการบาดเจ็บเวลาปั่นไปนานๆ

                และจากการศึกษาพบว่า นักวิ่งที่วิ่งกลางแจ้ง จะมีความรู้สึกผ่อนคลาย สดชื่น   มีแรงกระแทก  และแรงกระท�าจากพื้นถนน  ท�าให้มีอาการบาดเจ็บบริเวณเอ็นร้อยหวาย
          กระปรี้กระเปร่ามากกว่า  มีความเครียดและความกังวลใจลดลง  สิ่งแวดล้อม  และ   หัวเข่า สะโพก หรืออาจตกจากจักรยาน ในขณะที่การปั่นเครื่องปั่นจักรยาน
          ธรรมชาติจะช่วยท�าให้ความรู้สึกของผู้วิ่งดีขึ้น  แตกต่างจากคนที่วิ่งบน  Treadmill   มีโอกาสตกจากเครื่องเป็นศูนย์

          ซึ่งวิ่งอยู่กับที่ บางครั้งจะมีความรู้สึกเบื่อหน่าย รอคอยเวลาบนหน้าจอให้หมดไป      แต่หากเราปั่นจักรยานกลางแจ้งเราจะพบเจอผู้คนมากมาย  มีกลุ่มคนรัก-
          หรือบางครั้งก็รู้สึกท้อใจจนลงจากลู่วิ่งในที่สุด

                สรุปผลได้ว่า การวิ่งกลางแจ้งดีกว่าการวิ่งบนลู่                 การปั่นจักรยาน สร้างมิตรภาพที่ดี ช่วยผลักดันให้รักการปั่นจักรยาน ได้ออก
                         ปั่นจักรยานกลางแจ้ง vs. เครื่องปั่นจักรยาน            ก�าลังกายมากยิ่งขึ้น

           ปั่นจักรยานกลางแจ้ง vs. เครื่องปั่นจักรยาน                                สรุปผลได้ว่า การปั่นจักยานให้ได้ประสิทธิภาพ ควรปั่นในร่ม (เครื่องปั่น
                                                                               จักรยาน)
                                ปั่นจักรยานกลางแจ้ง เครื่องปั่นจักรยาน กิจกรรมที่ดีกว่า     สุดท้ายนี้ ไม่ว่าจะท�ากิจกรรมแบบใด จะกลางแจ้งหรือในร่ม แค่ได้ออก-


            แคลอรี่ที่เผาผลาญได้                                               ก�าลังกายก็มีประโยชน์ต่อสุขภาพของตนเองแล้วค่ะ  ฉะนั้นหลังอ่านบทความนี้จบ
                 ใน 1 ชม.         570 แคลอรี่   761 แคลอรี่ เครื่องปั่นจักรยาน  ก็เตรียมชุดไปออกก�าลังกายกันนะคะชาวราวค�าแหง

           อัตราการเต้นของหัวใจ 119 ครั้งต่อนาที 140 ครั้งต่อนาที เครื่องปั่นจักรยาน              แหล่งอ้างอิง : Daily Burn
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11