Page 4 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 13 วันที่ 9 - 15 กรกฎาคม 2561
P. 4

๔                                                       ข่าวรามคำาแหง                            วันที่ ๙ - ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑




            ศิษย์เก่าภาษาจีน ม.รามฯ                                                กองทัพพระรามในรั้วรามคำาแหง



            ชวนเพิ่มศักยภาพด้านภาษาที่รามคำาแหง                                  นางสาวณัฐญา อดุลยราษฎร์               นักศึกษาคณะสื่อสารมวลชน




                นางสาววิมล  หวังวณิชพันธุ์  เจ้าหน้าที่การเงิน หจก.                  ชาตินี้มึงมีแต่สองหัตถ์            จงไปอุบัติเอาชาติใหม่
          ธาราเอ็นจิเนียริ่ง  ศิษย์เก่า ม.รามฯ  อายุ 61 ปี ชวนเรียนภาษาจีน           ให้สิบเศียรสิบพักตร์เกรียงไกร      เหาะเหินเดินได้ในอัมพร

          ที่รามค�าแหง  ในงาน RU Road Show 2018 ที่เซ็นทรัลพลาซา                     มีมือยี่สิบซ้ายขวา                 ถือคฑาอาวุธธนูศร
          พระราม 2  หลังคว้าปริญญาใบที่สอง จากคณะมนุษยศาสตร์                         กูจะเป็นมนุษย์แต่สองกร             ตามไปราญรอนชีวี
          สาขาวิชาภาษาจีน  พร้อมความซาบซึ้งใจในพระมหากรุณาธิคุณ                                                  (รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก)

          สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  สยามบรมราชกุมารี  ทรงพระราชทาน
          ปริญญาบัตรให้เป็นกรณีพิเศษ
                ศิษย์เก่า ม.รามฯ เผยว่าตนมีพื้นฐานด้านภาษาจีนจากการเรียนพิเศษมาตั้งแต่

          สมัยเรียน ปวช.  เพราะชื่นชอบภาษาจีนมาก  เมื่อต้องการต่อยอดการเรียนรู้ภาษาจีน
          จึงวางใจในคุณภาพของคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง ให้เป็น
          สถาบันการศึกษาในการเพิ่มพูนความรู้ด้านภาษาจีน  และแบ่งเวลาการท�างาน

          มาเรียนต่อจนจบ
                “วิมลท�างานเป็นผู้จัดการฝ่ายการเงินของธุรกิจครอบครัว  มีหน้าที่คอยตรวจสอบ

          การท�างานของผู้ช่วยในส�านักงาน  ท�าให้มีเวลาเข้าเรียน  และแม้บ้านจะอยู่ไกล
          จากมหาวิทยาลัยมาก  แต่ก็สามารถเดินทางได้สะดวก  และประทับใจในตัวเหล่าซือ
          (อาจารย์)ทุกท่าน  ที่คอยใส่ใจ มีความเมตตากับนักศึกษาเสมอ”

                วิมล  เล่าต่อไปว่าเหล่าซือทุกท่านสอนด้วยจิตเมตตา  และความรู้ที่เต็มแน่น     บทก�าเนิดเรื่องราวของสงคราม “รามเกียรติ์” ระหว่างพระรามกับทศกัณฐ์
          ไปด้วยประสบการณ์มากมาย  หลายครั้งที่ไม่เข้าใจก็จะได้รับการเน้นย�้าให้เป็นพิเศษ   คือหัวใจส�าคัญของ  “โขน”  ศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีเอกลักษณ์ด้าน

          และเปิดโอกาสให้สามารถท�าความเข้าใจได้อย่างครบถ้วน  นักศึกษาร่วมชั้นเรียน  ความสง่างามและความอ่อนช้อย สะท้อนถึงคุณค่าของวัฒนธรรมไทย
          ก็คอยช่วยเหลือกันเสมอ  ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง  เปรียบเหมือนครอบครัวใหญ่      โขน คือ ศิลปวัฒนธรรมของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นการ
          ที่คอยเกื้อกูลกัน                                                     รวมศาสตร์หลายแขนง  เช่น  วรรณศิลป์  นาฏศิลป์  คีตศิลป์  และหัตถศิลป์

                “ในคู่มือการศึกษาจะมีแผนการเรียนชี้แจงไว้ให้เลือกลงทะเบียนเรียน  เข้าไว้ด้วยกันจึงจัดว่าเป็นศิลปะการแสดงชั้นสูง  เป็นที่นิยมแพร่หลายอย่างมาก
          แต่ละชั้นปี  ซึ่งการลงทะเบียนเรียนตามค�าแนะน�าท�าให้การเรียนไม่ยุ่งยาก  ความรู้   ในสมัยรัชกาลที่ 1 โดยผู้ที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตเข้ารับการฝึกหัดโขน

          จากชั้นปีหนึ่ง  สามารถน�ามาสนับสนุนการเรียนในชั้นปีสองได้  และสามารถ  จะมีแต่ผู้ที่อยู่ในระดับเจ้านายชั้นสูง  ขุนนางชั้นผู้ใหญ่  หรือผู้ว่าราชการเมือง
          ต่อยอดได้เรื่อยๆ  บวกกับความตั้งใจ เชื่อฟังทุกค�าแนะน�าของเหล่าซือ  ท�าให้พื้นฐาน  เท่านั้นเพื่อเป็นการประดับเกียรติยศแก่ตนเองและวงศ์ตระกูล  จึงเกิดเป็นคณะโขน
          ดี มีความเข้าใจ และสนุกกับการเรียน”                                   ของกรมต่างๆ มีการแข่งขันประชันฝีมือกันรวมไปถึงเริ่มฝึกโขนให้กับลูกทาส

                ศิษย์เก่าสาขาวิชาภาษาจีน  เล่าอีกว่าตนมีความสุขกับการเรียนภาษาจีน   และชาวบ้านทั่วไป
          ในรั้วรามค�าแหงมาก  จนเวลาล่วงเลยถึง 4 ปี ก็ส�าเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิต       เมื่อก้าวเข้าสู่ยุคปัจจุบัน  คนรุ่นใหม่มองว่าโขนเป็นศิลปะชั้นสูงที่ไกลตัว

          เตรียมเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรวันที่  20  มีนาคม  2561  แต่บังเอิญ   เข้าถึงยาก  รู้จักโขนแต่เพียงผิวเผิน  กลายเป็นนาฏกรรมที่เกือบถูกลืมเลือน
          เกิดไม่สบายขึ้นมากะทันหันตั้งแต่วันที่ 19 มีนาคม 2561 จึงท�าใจที่จะไม่สามารถ   และคงเป็นเรื่องน่าเศร้าหากไม่มีการอนุรักษ์ไว้  หรือค�าว่า  “โขน”  ต้องกลาย
          เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรได้                                         เป็นเพียงตัวหนังสือในประวัตินาฏศิลป์ไทยโบราณ

                “ความเศร้ากัดกินหัวใจ  เป็นเรื่องธรรมดาที่จะเกิดขึ้นเมื่อรู้สึกผิดหวัง       จนกระทั่ง  พ.ศ.  2547  รองศาสตราจารย์รังสรรค์  แสงสุข  อธิการบดี
          แต่เหตุผลที่ร่างกายของเราไม่พร้อมเองจึงต้องยอมรับ  และหลังจากที่ท�าใจได้แล้ว   มหาวิทยาลัยรามค�าแหงในขณะนั้นได้เล็งเห็นความส�าคัญในการร่วมอนุรักษ์

          เช้าวันที่ 23 มีนาคม 2561 ก็ได้รับการติดต่อจากอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์   โขนไทยและอยากให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการร่วมสืบทอด
          ให้เข้ารายงานตัวบัณฑิตก่อนเวลา 09.00 น. และได้รับพระมหากรุณาธิคุณ     คุณค่าวัฒนธรรมไทยนี้ไว้ จึงก่อตั้ง “โขนรามค�าแหง” ขึ้น โดยมีต้นแบบจาก
          จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  สยามบรมราชกุมารี  ทรงพระราชทานปริญญาบัตร   ศาสตราจารย์  พลตรี  ม.ร.ว.  คึกฤทธิ์  ปราโมช  ผู้ก่อตั้ง  “โขนธรรมศาสตร์”

          ให้เป็นกรณีพิเศษ  ณ บริเวณโถงทางเดินชั้น 2 หอประชุมพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช ในวันนั้น  ในครั้งแรกที่เปิดรับนั้นมีผู้มาสมัครกว่า  800  คน  ถือว่ามีจ�านวนมากเป็นประวัติการณ์
                เป็นความซาบซึ้งใจในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้  และขอขอบคุณ  เปรียบเสมือน “กองทัพพระรามขนาดย่อม” ในรั้วรามค�าแหงที่พร้อมท�า
          คณาจารย์ที่เสนอชื่อให้เป็นกรณีพิเศษ  ซึ่งท�าให้วิมลสามารถเข้ารับพระราชทาน  หน้าที่ปกป้องโขนไทยไม่ให้เลือนหายไปตามกาลเวลา

          ปริญญาบัตรได้ดังใจหวัง”                                                     ปัจจุบันกองทัพพระรามแห่งนี้ยังเปิดรับผู้ที่สนใจอยู่เสมอทุกวัน
                วิมล  กล่าวทิ้งท้ายว่าภาษาจีนเป็นอีกหนึ่งภาษาที่มีความส�าคัญมาก  เนื่องจาก  อังคารและพฤหัสบดี เวลา 16.00 - 18.00 น. ณ ห้อง 322 ชั้น 3 อาคารสุโขทัย
          ปัจจุบันภาษาจีนถูกน�ามาใช้ในชีวิตประจ�าวันของคนไทยอย่างแพร่หลาย  หลายคน  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง โดยมีคุณครูธรรมจักร พรหมพ้วย หรือครูบ๊อบ

          ต้องปรับตัวเพื่อให้การท�างานและการใช้ชีวิตร่วมกันเป็นไปได้อย่างราบรื่น    จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ รับหน้าที่ดูแลเพจโขนรามค�าแหงและเป็นครู
                “ขอเชิญชวนน้องๆ เพื่อนๆ ที่ต้องการเรียนรู้ภาษาจีน  ให้มหาวิทยาลัยรามค�าแหง  ร่วมฝึกซ้อมกับครูจากกรมศิลปากรอีกกว่า  10  ท่าน  อาทิ  คุณครูประสิทธิ์  ปิ่นแก้ว

          เป็นสถาบันที่เหมาะสมที่สุดในการเพิ่มศักยภาพด้านภาษา  ด้วยค่าใช้จ่ายที่ถูกมาก    ศิลปินแห่งชาติ  สาขาศิลปะการแสดง  (นาฏศิลป์-โขน)  คุณครูสมศักดิ์  ทัดติ
          รวมถึงคณาจารย์ทุกท่านที่เพียบพร้อมด้วยประสบการณ์และความรู้  และยังมี  ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย  (โขน-ยักษ์)  ครูบ๊อบกล่าวด้วยน�้าเสียงภาคภูมิใจว่า
          ความอบอุ่นจากเพื่อนๆ และรุ่นพี่ร่วมสาขาวิชาคอยให้ความช่วยเหลืออีกด้วย”                                                    (อ่านต่อหน้า 9)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9