Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 10 วันที่ 18 - 24 มิถุนายน 2561
P. 6

๖                                                       ขาวรามคําแหง                            วันที่ ๑๘ - ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑



             คด
             คดีดิจิทัล (Digital Case) : ความเขาใจพื้นฐาน ผูใชอินเทอรเน็ต ยุค 4.0 ตองรูีดิจิทัล (Digital Case) : ความเขาใจพื้นฐาน ผูใชอินเทอรเน็ต ยุค 4.0 ตองรู




           อาจารยประหยัด เลวันประหยัด เลวัน
           อาจารย                                                                                          ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตริชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร
                                                                                                           ภาคว
                                                                                     2)  ชั้นโปรแกรมประยุกต (Application Layer) เชน จดหมายอิเล็กทรอนิกส

                                                                               (อีเมล) กระดานขาว (เว็บบอรด) โปรแกรมสนทนา (ไลนและวอตแอพ) เว็บไซต
                                                                               แฟมประวัติอินเทอรเน็ต (Internet history files) และแฟมอินเทอรเน็ตชั่วคราว

                                                                               (Cache file) เปนตน
                                                                                     3) ชั้นสงขอมูลและชั้นไอพี (Transport layer) เชน ขอมูลชุดหมายเลขเครื่อง
                                                                               ที่รูจักกันในชื่อ  ไอพีแอดเดรส (IP Address)  และแฟมบันทึกการเขาออกและ

                                 รูปที่ 1 รูปภาพประกอบ                         ตารางแสดงสถานะ (Log file) เปนตน
                  (แหลงที่มา: https://www.google.co.th/ คําคนที่ใช :คดีดิจิทัล)   4) ชั้นเชื่อมโยงเครือขาย (Inter-networking layer) เชน หนวยความจําแคช
                                                                               (Cache) และแฟมบันทึกการทํางาน (Log file) ของเราทเตอร เปนตน
                ปจจุบันคงปฏิเสธไมไดวา ความรูและความเขาใจพื้นฐานของผูใชบริการ
                                                                                             การตรวจพิสูจนหลักฐานดิจิทัลิสูจนหลักฐานดิจิทัล
          เครือขายอินเทอรเน็ต โดยเฉพาะกลุมผูใชบริการเครือขายสังคมออนไลน (Social       การตรวจพ
          Network)  ที่เรียกทับศัพทวา  โซเชียลเน็ตเวิรค  ไดเขาถึงคนไทยทุกเพศ  ทุกวัย      การตรวจพิสูจนหลักฐานในคดีความทางดิจิทัล เจาหนาที่ตํารวจหรือ
          ดังนั้นความรูเกี่ยวกับคดีความทางดิจิทัล หรือที่เรียกสั้นๆวา คดีดิจิทัล นั้นเปน  เจาหนาที่ผูมีอํานาจหนาที่ ตองตรวจพิสูจนหลักฐานอะไรกันบาง มาติดตามกัน

          ความรูพื้นฐานที่ทุกทานควรทราบ  โดยคดีดิจิทัลที่ตํารวจและศาลจะพิจารณาจาก     1) หลักฐานคอมพิวเตอร (Computer Forensics) ไดแก บัญชีผูใช (User
          หลักฐานดิจิทัล (Digital Forensics) นั้นแบงไดเปน 3 ประเภทคือ       Name) รอยประทับเวลา (Time stamp) รูปภาพ จดหมายอิเล็กทรอนิกส (อีเมล)

                1) คดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร ไดแก การแฮก (Hack) ระบบ การดักรับ  แฟมขอมูลที่บันทึกอยูในฮารดดิสกของเครื่องคอมพิวเตอร รวมทั้งที่บันทึกจาก
          ขอมูล (Sniff) และจารกรรมขอมูลคอมพิวเตอร การกอวินาศกรรมคอมพิวเตอร   หนวยความจํา เปนตน
          (Computer Terrorism)  อยางพวกการปลอยไวรัส  มัลแวร  สปายแวร  และการ     2) หลักฐานในโทรศัพทเคลื่อนที่  (Cell Phone Forensics)  ไดแก  ขอมูล

          ฉอโกงทางคอมพิวเตอร (Computer Fraud) เปนตน                        บันทึกที่สรางขึ้นโดยผูใหบริการโทรศัพทมือถืออยาง เชน ขอมูลการเรียกเก็บเงิน
                2) คดีอาชญากรรมอินเทอรเน็ต ไดแก การสงสแปม (Spam) ฟชชิ่ง (Phishing)  การบันทึกการใชบริการ ทั้งหมายเลขที่โทรออก โทรเขา ระยะเวลาการใชบริการ-
          การพนันบนอินเทอรเน็ต (Internet Gambling)  การเผยแพรภาพลามกอนาจาร   โทรศัพท วันเวลาการโทรศัพท สถานีเครือขายที่โทรศัพทเครื่องนั้นใชงาน รายชื่อ-

          (Pornography) การฟอกเงิน (Money Laundering) การละเมิดลิขสิทธิ์ (Copy Right
          Violation) และการหมิ่นประมาท (Defamation) เปนตน                    ผูติดตอในโทรศัพท  แฟมขอความ  แฟมรูปภาพ  และจดหมายอิเล็กทรอนิกส
                3) คดีอาชญากรรมทั่วไป  ซึ่งมีความเกี่ยวพันกับอุปกรณหรือเครื่องมือ  (อีเมล) ที่จัดเก็บในโทรศัพท เปนตน

          สื่อสารอิเล็กทรอนิกส                                                      3) หลักฐานตําแหนงจีพีเอส (GPS Position)  เชน  ตนทางอยูที่ไหน
                ยุคที่เครือขายอินเทอรเน็ตมีบทบาทอยางมาก  ทุกคนมีโอกาสตกเปนผูเสียหาย  ตําแหนงที่อยูกอนหนานี้ สถานที่ที่ชอบเดินทางไป ไปบอยแคไหน หยุดที่สถานที่-
          หรือผูตองสงสัย หรือผูที่เกี่ยวของในคดี ไมมากก็นอย โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึง  ใดบาง นานเทาใด เปนตน

          พ.ร.บ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 (เรียกสั้นๆ วา พ.ร.บ.     4) หลักฐานจากเครือขายสังคมออนไลน (Social Media Forensics) ไดแก
          คอมพิวเตอร (ปจจุบัน มี พ.ร.บ.คอมพิวเตอร ฉบับที่ 2 ป 2560)) จะพบวาคดี  ขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมออนไลนกับกลุมเพื่อน การสื่อสาร กระทั่งขอความที่แสดง
          ความที่ถูกนํามาฟองรองกันมากที่สุดคือ การหมิ่นประมาท (ในอินเทอรเน็ต)   ถึงแนวคิดของบุคคลผูตองสงสัย เปนตน

                งานวิจัย (สาวตรี และคณะ, 2557) พบวา ป 2550-2554 มีสถิติ จํานวนคดี     5) หลักฐานสื่อวีดิทัศนและภาพถาย (Digital Video and Photo Forensics)
          ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอรในทุกชั้นกระบวนพิจารณาถึง 325 คดี แบงเปน  ไดแก การตรวจสอบและวิเคราะหสื่อประเภทวีดีทัศนและภาพถาย ที่เปนหลักฐาน

          หมิ่นประมาทบุคคลทั่วไปจํานวน 101 คดี (คิดเปน 31%) หมิ่นประมาทกษัตริย  เกี่ยวของกับผูตองสงสัย เปนตน
          จํานวน 39 คดี (คิดเปน 12%) เผยแพรภาพลามกอนาจาร จํานวน 32 คดี (คิดเปน      6) หลักฐานในตัวกลองถายภาพ (Digital Camera Forensics) ไดแก ภาพถาย
          10%) ฉอโกงทางอินเทอรเน็ต 32 คดี (คิดเปน 10%) และเปนคดีอาชญากรรม  ขอมูลเกี่ยวกับภาพ ขอมูลรายละเอียดของภาพถาย (meta data) ชนิดแฟม
          คอมพิวเตอรโดยแทเพียง 46 คดี (คิดเปน 14%) สวนอีก 59 คดี (คิดเปน 18%)    ขนาดแฟม จํานวนพิกเซลของภาพถาย รุนของกลอง วันเวลาบันทึกภาพ เปนตน

          นั้นไมสามารถระบุประเภทไดเนื่องจากไมมีการเปดเผยขอมูล                   7) หลักฐานจากเกม (Game Console Forensics) ไดแก รายละเอียดของ
                                                                               ผูเลนเกม (meta data) ขอมูลผูเลน บัญชีออนไลน วันเวลาที่เลน และจํานวน
                   พยานหลักฐานดิจิทัลมีอยูที่ไหน บาง ?ักฐานดิจิทัลมีอยูที่ไหน บาง ?  ชั่วโมงที่เลนของตัวผูตองสงสัย เปนตน
                   พยานหล

                พยานหลักฐานทางดิจิทัล หรือที่เรียกสั้นๆ วา หลักฐานดิจิทัล นั้นอยูใน                        สร
                                                ้
                                                                                                             สรุปุป
          “ทุกที่” ทั้งขอมูลในตัวอุปกรณและจากเครือขายที่ใชงาน สามารถจําแนกแหลง
          ขอมูลไดดังนี้                                                            การตอสูคดีดิจิทัลนั้นใหนํ้าหนักสําคัญ 3  สิ่ง  คือ 1)  ความแทจริงของ
                1) ระบบคอมพิวเตอร หรืออุปกรณอิเล็กทอรนิกส (Physical Layer)  เชน  หลักฐาน วาไมถูกแกไขเปลี่ยนแปลงหรือไดรับความเสียหาย 2) ความนาเชื่อถือ
          ในพื้นที่วาง (Free space)  ในฮารดดิสก  หรือ  พื้นที่เก็บรวบรวมแฟมที่ถูกลบ  ของโปรแกรมหรือซอฟตแวรที่นํามาใชวิเคราะหหลักฐาน  และ 3) ผูเชี่ยวชาญ

          (Deleted space)  ที่เรารูจักกันชื่อ  ถังขยะรีไซเคิ้ล (Recycle Bin)  พื้นที่หนวย- ที่ตองผานการอบรมมาโดยเฉพาะ สาเหตุเพราะหลักฐานทางดิจิทัลออนไหวมาก
          ความจําเสมือน (Virtual Memory) แฟมชั่วคราว (Temperately File) แฟมประวัติ  เพียงแคยึดคอมพิวเตอรไป แลวเจาหนาที่ไมทําการสําเนาขอมูล แตเปดคอมพิวเตอร
          (History File) ที่สรางโดยซอฟตแวรประยุกต  และขอมูลจากการลงทะเบียนใช ที่ยึดนั้น ในระหวางสอบสวน เพียงเทานี้จําเลยก็สามารถโตแยงได เพราะทุกครั้ง

          งานระบบ (Register File) เปนตน                                                                                           (อานตอหนา 7)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11