Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 46 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม 2562
P. 5

วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ - ๓ มีนาคม ๒๕๖๒                  ข่าวรามคำาแหง                                                              ๕

           เศรษฐศาสตร์ 101






           คณะเศรษฐศาสตร์                          รศ.อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม
           ตอน                   ข้าวโพดม้า                                     คณะมนุษยศาสตร์                               อาจารย์ตูซาร์ นวย


                                                                                               การซื้อของที่ตลาด (2)


                  ก่อนที่จะเขียนอย่างเป็นงานเป็นการเกี่ยวกับข้าวโพดซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส�าคัญ      ในภาษาเมียนมา “ตลาด” พูดว่า   [เซ้] และอีกความหมายของค�านี้คือ
           ผมขอเล่าถึงที่มาของชื่อตอนนี้เสียหน่อยว่าท�าไมไม่ตั้งว่า “ข้าวโพด” เฉย ๆ จะมีม้า
           เพิ่มมาด้วยท�าไม ที่ผมตั้งใจตั้งชื่อตอนไว้แบบนี้ก็เพราะต้องการแยกให้เห็นต่างจากข้าวโพด  “ราคา” ด้วย ประโยคตัวอย่างในการซื้อของที่ตลาด เป็นภาษาเมียนมามีดังนี้
           ที่เราซื้อกินกันทั่วไปซึ่งเป็นข้าวโพดที่คนกินกัน ส่วนข้าวโพดที่จะเขียนถึงนั้นเป็นข้าวโพด  ตัวอย่างบทสนทนา
           เลี้ยงสัตว์ที่ชาวบ้านสมัยผมเด็ก ๆ เรียกกันว่าข้าวโพดม้า ไม่ทราบว่าเดี๋ยวนี้จะยังเรียกกัน
           อย่างนั้นอยู่หรือเปล่า เพราะค�าว่าข้าวโพดม้าที่ผมได้ยินครั้งสุดท้ายนั้นเป็นเมื่อสัก 55 ปีมาแล้ว  [เซ้แวตู]             [งะโยะตี้เซ้นกะ แบโลเย้าแล้]
                  สมัยเด็ก ๆ ตอนที่ยังเป็นเด็ก(กรุง)เทพอยู่นั้น ผมเคยกินข้าวโพดปิ้งที่แม่ค้าปิ้งขาย  ลูกค้า                “พริกสด ขายอย่างไร”
           ตามตลาดมาบ้างเป็นครั้งคราวแต่ไม่บ่อยนักเพราะราคาไม่ถูกเลยส�าหรับเด็กที่ได้เงิน
           ไปเป็นค่าอาหารกลางวัน ๆ ละ 6 สลึง (เรื่องนี้ไม่ใช่แค่ 55 ปี แต่เป็น 60 ปีมาแล้ว)  [เซ้เย้าตู]            [กราน ตะยา โก โต้นแซ่ง้า บะ บา]
           เมื่อย้ายไปอยู่จังหวัดชายแดนของภาคกลางติดกับภาคอีสานเห็นแม่ค้าปิ้งข้าวโพดขาย คนขาย               “ขีดละ 35 บาท”
           ที่ตลาดราคาถูกกว่าที่กรุงเทพตั้งกว่าครึ่งก็ดีใจไปซื้อมากิน และก็ได้รู้จักค�าว่าข้าวโพดม้า
           ตั้งแต่นั้นมา เพราะที่จังหวัดที่ว่ามีแต่ข้าวโพดชนิดนี้ขายให้คนกินกันทั้ง ๆ เขาเอาไว้ใช้  [เซ้แวตู]             [งะโยะตี้เซ้นกะ เซ้จี้ไล่ตา]
           เลี้ยงสัตว์(ซึ่งไม่จ�ากัดว่าต้องเป็นเฉพาะม้า) การกินข้าวโพดม้าครั้งนั้นเป็นครั้งแรก  ลูกค้า                “พริกสดราคาแพงจัง”
           และครั้งเดียวของผมเพราะมันทั้งเหนียวทั้งแข็งและไม่มีรสชาติ แต่อาจจะเป็นเนื่องจากลิ้นผม
           เป็นลิ้นคนกรุงก็ได้เพราะคนแถวนั้นเขานิยมซื้อกินกันทั่วไป             [เซ้เย้าตู]            [โฮะแต, อะคุอะเชน แน้แน้ เซ้จี้เนแด]
                  เดิมข้าวโพดม้าหรือจะเรียกเป็นทางการว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์นั้นไทยเราปลูกไว้
           ส่งออก ประเทศที่เป็นตลาดรับซื้อส�าคัญคือยุโรป ซึ่งเกษตรกรที่ปลูกข้าวโพดก็จะประสบ  คนขาย              “ใช่ ช่วงนี้ราคาแพงนิดหน่อย”
           ปัญหาเหมือนเกษตรกรที่ปลูกพืชส่งออกทั่วไปคือถูกคนกลางกดราคา เพราะถ้าราคาที่
           รับซื้อจากชาวไร่แพงก็ต้องไปตั้งราคาส่งออกแพงตามไปด้วย ซึ่งท�าให้ฝ่ายผู้ซื้อเปลี่ยนไป  [เซ้แวตู]             [ดาโซ กราน ตะยา แป้ ยูแม, นานนานปินก้อ มะชิบู้ล้า]
           ซื้อจากคู่แข่งที่ขายถูกกว่าได้ง่าย ส่วนรัฐบาลยุคนั้นจะช่วยเหลือเกษตรกรอย่างไรผมก็  ลูกค้า               “ถ้าอย่างนั้น เอาแค่ขีดเดียว, แล้วผักชีล่ะ ไม่มีหรือ”
           จนปัญญาจะทราบได้เพราะถามอีตากูเกิลแล้วเขาบอกว่าไม่รู้ไม่เห็น
                  สถานการณ์ตลาดข้าวโพดไทยมาเปลี่ยนเมื่อ 40 กว่าปีที่แล้วหลังจากมีการน�า [เซ้เย้าตู]            [ชิบาแด, แบเลาะโพ้ ยูชินตะแล้]
           เทคโนโลยีเลี้ยงสัตว์แบบทันสมัยเข้ามา การเลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะการเลี้ยงไก่ซึ่งเดิมเลี้ยงกัน คนขาย              “มี, อยากได้สักเท่าไรล่ะ”
           อย่างมากครอบครัวละไม่กี่ 10 ตัวก็กลายเป็นครอบครัวหนึ่งอาจเลี้ยงได้นับหมื่นนับแสนตัว
           สิ่งที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์แบบนี้ก็คือการเกิดโรงงานผลิตอาหารสัตว์ที่ [เซ้แวตู]             [แซ บะโพ้แป้ เป้บา, อะมยินจี้จี้โก ยเว้เป้นอ]
           ทันสมัยซึ่งจะผลิตอาหารตามสูตรที่ผ่านการค้นคว้าวิจัยเป็นอย่างดีมาแล้ว เมื่อสัตว์เลี้ยง  ลูกค้า                “เอาแค่ 10 บาท, ช่วยเลือกที่รากใหญ่ๆ ให้ด้วยนะ”
           มีจ�านวนมากขึ้น ความต้องการอาหารสัตว์ก็เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องท�าให้เกิดความต้องการ
           ซื้อวัตถุดิบส�าหรับใช้ในการผลิตอาหารสัตว์พวกนี้มากขึ้นเป็นเงาตามตัว โดยวัตถุดิบ  [เซ้เย้าตู]            [บาทะยูโอ้นมะแล้ ชิ่น]
           ส�าคัญที่ต้องใช้เป็นจ�านวนมากได้แก่ กากถั่วเหลือง ปลาป่น และ...ใช่แล้วครับข้าวโพดม้า  คนขาย              “จะเอาอะไรเพิ่มอีกไหมคะ”
           เอ๊ย..ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                  มาถึงตอนนี้ไทยเราไม่ต้องง้อตลาดต่างประเทศให้รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อีกแล้ว
           แต่ต้องง้อที่จะต่อรองให้ขายให้เราที่ราคาไม่แพงเกินไปแทน เนื่องจากข้าวโพดที่ปลูกกัน  [เซ้แวตู]             [ตอปยี, ดีเลาะแป้, เซ้ ตแวะไล่ปาต้อ]
           นั้นถึงจะผลิตได้เต็มที่อย่างไรก็ยังน้อยกว่าความต้องการปีละ 3 – 4 ล้านตัน อ้อ! ข้าวโพด  ลูกค้า                “พอแล้ว, แค่นี้ล่ะ, คิดเงินให้เถอะ”
           ที่ไม่เพียงพอนี้เป็นเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เท่านั้นนะครับ ส่วนข้าวโพดให้คนกินนั้นเรายัง
           ปลูกส่งออกได้อยู่ในรูปของข้าวโพดกระป๋องเป็นส่วนใหญ่ ปัญหามันอยู่ที่ว่าชาวไร่ข้าวโพด  [เซ้เย้าตู]            [อ้าโล้น เล่แซ่ง้า บะ จะแด]
           ของไทยก็ยังปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อยู่ด้วย แต่เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงกว่า ราคาก็เลย  คนขาย               “รวมทั้งหมดเป็น 45 บาท”
           ต้องตั้งไว้แพงกว่าข้าวโพดที่น�าเข้า                                  คำาศัพท์จากบทสนทนา
                  ในตอนแรกรัฐบาล(เมื่อ 20 กว่าปีมาแล้ว)พยายามช่วยเกษตรกรด้วยการจ�ากัด        [งะ โยะ ตี้ เซ้น]  พริกสด              [ชิ]     มี, มีอยู่
           การน�าเข้าค่อนข้างเข้มงวด ท�าให้หวยไปออกที่ธุรกิจเลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะการเลี้ยงไก่เพื่อ
           ส่งออกซึ่งท�ารายได้เข้าประเทศนับหมื่นล้านบาทต่อปี ทั้งนี้เพราะเมื่อข้าวโพดซึ่งเป็นวัตถุดิบ            [เย้า]               ขาย        [อะ มยิน]   ราก
           ส�าคัญในการผลิตอาหารสัตว์ขาดแคลนและมีราคาสูงเนื่องจากถูกจ�ากัดการน�าเข้าก็จะ        [แน้ แน้]        นิดหน่อย      [จี้จี้]     ใหญ่ๆ
           เป็นอุปสรรคส�าคัญต่อธุรกิจดังกล่าว ในที่สุดเพื่อผ่อนปรนช่วยทั้งชาวไร่ข้าวโพดและธุรกิจ           [เซ้ จี้]       ราคาแพง      [ยเว้เป้นอ]   เลือกให้
           เลี้ยงสัตว์ รัฐบาลจึงก�าหนดเป็นโควตาน�าเข้าให้พอดีกับส่วนที่ประเทศผลิตขาดอยู่ ธุรกิจ             [ยู]          เอา    [เซ้ ตแวะ]   คิดเงิน
           ผู้ผลิตอาหารสัตว์ต้องซื้อจากชาวไร่ข้าวโพดในประเทศให้หมดเสียก่อนตามราคาที่รัฐบาล             [นาน นาน ปิน]   ผักชี     [อ้า โล้น]   ทั้งหมด
           ประกันขั้นต�่าไว้ ส่วนที่ยังขาดอยู่จึงไปน�าเข้าตามโควตาที่ก�าหนดไว้ให้ใกล้เคียงกับ
           ความจ�าเป็นต้องน�าเข้าจริง จะน�าเข้ามามากกว่านั้นก็ไม่ได้ เพราะจะต้องเสียภาษีในอัตรา    ในภาษาเมียนมาค�าว่า   [แป้] เป็นค�าจ�ากัดความหมาย แปลว่า “แค่, เพียงแค่,
           สูงมาก เช่นเมื่อปีที่แล้วถ้าน�าเข้าจากประเทศสมาชิก WTO จะเสียอากรน�าเข้าร้อยละ 20   เพียงเท่านั้น” ค�าว่า   [แป้] นี้ มาเติมหลังค�านาม หรือ กริยาที่อยากจะจ�ากัดความหมายนั้นๆ
           แต่ถ้าน�าเข้านอกโควตาจะเสียอากรน�าเข้าถึงร้อยละ 73 บวกค่าธรรมเนียมพิเศษอีก  ยกตัวอย่าง เช่น
           ตันละ 180 บาท ส่วนถ้าจะน�าเข้าจากประเทศที่เรามีข้อตกลงการค้าเสรีแม้จะไม่เสีย     1.                    [กะล้าปีนเซ้น นะ ซี้ แป้ ยูแม]  “จะเอา
           ภาษีน�าเข้าแต่ก็จะท�าได้เฉพาะช่วงเวลาที่ก�าหนดซึ่งไม่มีผลผลิตข้าวโพดในประเทศ  กะเพราแค่ 2 ก�า”
           ออกสู่ตลาดเท่านั้น
                  ในเมื่อเกษตรกรปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แล้วขายได้แน่ ทั้งยังได้รับการประกัน     2.    [ปีนเซ้น มเว้ แป้ ชิล้า]  “ มีแค่โหระพาหรือ”
           ราคาไว้ค่อนข้างดีด้วย แต่ท�าไมจึงยังปลูกกันได้ไม่พอต่อความต้องการเสียที มัวไปปลูกข้าว     3.    [ตานปะยาตี้ ง่า โล้น แป้ เป้ปา] “ขอเพียงแค่
           หรือพืชอื่นที่ผลผลิตล้นตลาดอยู่ท�าไม เรื่องนี้ตอบได้ง่าย ๆ ว่าเป็นเรื่องของความเสี่ยง  มะนาว 5 ลูกเท่านั้น”
           คนปลูกข้าวโพดจ�านวนไม่น้อยขาดทุนน�้าตาเช็ดหัวเข่าเพราะธรรมชาติไม่อ�านวย      4.                                    [แจะโย้ฮี้นเยแท้โก ซะบะ
           ตัวอย่างประสบการณ์ที่เคยคุยกับชาวไร่ก็คืออีกไม่กี่วันก็จะเก็บเกี่ยวขายได้เงินอยู่แล้ว   ลีนแป้ แท่แมมอ]  “จะใส่แค่ตะไคร้ในซุปกระดูกไก่นะ”
           ฝนเกิดตกขึ้นมา ต้นล้มระเนระนาดเมล็ดงอกขาดทุนป่นปี้ หนี้กับ ธกส. ก็พอกพูนเป็น     5.                            [จิแป้ จิเนแด, บามะ มะยูบู้ล้า]
           หางหมูต่อไป เคลียร์ไม่ได้เสียที                                      “แค่ดูอยู่เท่านั้น จะไม่เอาอะไรเลยหรือ”
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10