Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 46 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม 2562
P. 3
วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ - ๓ มีนาคม ๒๕๖๒ ข่าวรามคำาแหง ๓
แนะแนวทางสอบผ่าน เรียนเข้าใจ SOC 2043
เปิดตำารา SOC 2043 การศึกษาประชากร แนะแนวทางสอบผ่าน เป็นต้น ซึ่งอาจารย์เข้าใจดีว่านักศึกษาหลายคนอาจไม่ชอบหรือไม่ถนัดการ
เรียนเข้าใจ ประยุกต์ใช้เป็น ทั้งภาคทฤษฎีและการคำานวน โดยอาจารย์ฐิตินันทน์ ค�านวณ แต่ในวิชานี้จะเลือกให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติและคิดค�านวณในสูตรพื้น
ผิวนิล อาจารย์ประจ�าภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ ฐานที่ไม่ซับซ้อน เพราะมุ่งหวังให้นักศึกษาเข้าใจในสถานการณ์ทางประชากร
ผู้สอนวิชา SOC 2043 ประชากรศาสตร์ (Demography) และสังคมที่เกิดขึ้นมากกว่าการท่องจ�าสูตรต่าง ๆ
อาจารย์ฐิตินันทน์ บอกว่าวิชานี้ศึกษา “จากเสียงสะท้อนจากนักศึกษาที่เคยเรียนวิชานี้ที่ผ่านมา หลายคน
และวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ บอกว่าวิชานี้ไม่ยาก ในชั้นเรียนที่ได้พูดคุยกันก็พบว่ามีนักศึกษาจากหลายคณะ
เกี่ยวกับปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวพันกับสาเหตุ มาลงทะเบียนเรียน และหลายคนได้น�าความรู้ทางประชากรจากวิชานี้ไปปรับ
ของการเปลี่ยนแปลงในขนาด อัตราการ ใช้กับการศึกษาในคณะตนเอง ต่อยอดได้หลายทางทั้งการท�ารายงานหรือท�า
เพิ่มองค์ประกอบทางประชากรและการกระจาย วิจัย ท�าให้นักศึกษาได้เห็นสังคมในมุมกว้างขึ้น อ้างอิงตามค่าสถิติทาง
ของประชากร แนวโน้มของการเจริญพันธุ์ ประชากรที่แท้จริง และหากทบทวนเนื้อหาตามเอกสารการเรียน ส่วนใหญ่แล้ว
การตาย และการย้ายถิ่น โดยมุ่งพิจารณา ประสบความส�าเร็จในการสอบเป็นอย่างดี”
ทั้งความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยทาง
สังคมวัฒนธรรม และนโยบายประชากร
เป็นหลัก ซึ่งเป็นกระบวนการของมนุษย์ทุกคน
“SOC 2043 เน้นเนื้อหาพื้นฐานเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการวิเคราะห์
เปรียบเทียบข้อมูลทางประชากรและสังคมได้ เช่น ปัจจุบันสังคมไทยมีเด็ก
เกิดน้อยลงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น หรือการท�าความเข้าใจเรื่องการย้ายถิ่น
ของคนไทยตามแนวคิดทฤษฎีการย้ายถิ่นที่คนจะย้ายถิ่นต่อเมื่อมีแรงผลักจาก
พื้นที่เดิมและมีแรงดึงจากพื้นที่ปลายทาง ดังเช่นที่คนต่างจังหวัดยังคงนิยม
ย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่ในกรุงเทพจ�านวนมาก หรือปัญหาสังคมผู้สูงอายุในปัจจุบัน
ความรู้ทางประชากรศาสตร์ สามารถท�าความเข้าใจเรื่องเหล่านี้ได้ เป็นต้น
วิชานี้เน้นให้นักศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดยเริ่มจากตัวเองก่อน เป้าหมาย ส�าหรับขอบเขตเนื้อหาข้อสอบ อาจารย์ฐิตินันทน์ เปิดเผยว่าข้อสอบ
ส�าคัญของการเรียนวิชานี้คือการเรียนเพื่อน�าไปปรับใช้กับตัวเอง ก่อนน�าไป ปรนัยเป็นแบบ 4 ตัวเลือก 50 ข้อ 50 คะแนน และอัตนัย 2 ข้อ 50 คะแนน
ปรับใช้กับสังคม และการท�างานต่อไป ดังนั้นอาจารย์จึงไม่มุ่งเน้นให้นักศึกษา อยากให้นักศึกษาจ�าค�าศัพท์ สูตรอัตราต่าง ๆ ประมาณ 15 สูตรพื้นฐาน
จ�าแต่เพียงแนวทฤษฎี แต่นักศึกษาต้องฝึกคิดวิเคราะห์เข้ากับสถานการณ์ รวมถึงหลักการส�าคัญๆ ไว้ด้วย เนื้อหาข้อสอบครอบคลุมทุกบท อาจมีการ
ปัจจุบันที่สามารถน�าไปต่อยอดได้ด้วยเช่นกัน” ค�านวณอยู่เล็กน้อย อนุญาตให้นักศึกษาน�าเครื่องคิดเลขเข้าไปในที่นั่งสอบได้
ส่วนข้อสอบอัตนัย จะเป็นการค�านวณหาอัตราค่าสถิติทางประชากรและการ
ประยุกต์เชื่อมโยงความรู้กับปรากฏการณ์ทางสังคม นอกจากนี้ นักศึกษา
มีทางเลือกในการสอบระบบ e-Testing ซึ่งเป็นข้อสอบปรนัย 100 ข้อ 100
คะแนน (นักศึกษาสามารถติดต่อที่สถาบันบริการวิชาการทางอิเล็กทรอนิกส์
ม.รามค�าแหง)
“ในทุกเทอมข้อสอบมักออกตามหลักแกนของวิชาไม่แตกต่างกัน
เพียงแต่จะมีการอัพเดตข้อมูลให้ทันสมัยมากขึ้น แต่ละรอบการสอบอาจมี
การปรับจุดเน้นของอัตนัยต่างกันไป แต่ไม่ได้ยากเกินไป นักศึกษาควรอ่าน
เอกสารประกอบการสอนของอาจารย์ ซึ่งจะยึดเป็นเนื้อหาในการสอนและ
ออกข้อสอบทุกครั้ง ขอย�้าว่าข้อสอบไม่ยาก บางอย่างต้องจ�าได้ เข้าใจ
วิเคราะห์เป็น ทุกค�าถามในข้อสอบเป็นสิ่งที่นักศึกษาควรรู้ ไม่อยากให้
เนื้อหาการเรียนของวิชานี้จะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจสถานการณ์ นักศึกษาเรียนเพื่อสอบผ่านเพียงอย่างเดียว แต่อยากให้เข้าใจสังคมและ
บ้านเมืองที่เกิดขึ้นได้ดี รู้ว่าตัวเองก�าลังอยู่ในสังคมแบบใด อาทิ เด็กเกิด ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันด้วยครับ”
น้อยลง สังคมผู้สูงอายุ ภาวะคนไม่แต่งงานหรือไม่นิยมมีลูกปัญหาการตั้งครรภ์ ส�าหรับช่องทางติดต่อผู้สอน Line Group วิชา SOC2043
ในวัยรุ่น ปัญหาแรงงานต่างด้าว ฯลฯ ดังนั้น การเรียนจึงมีทั้งหลักทฤษฎีและ
การวิเคราะห์ เชื่อมโยงข่าวและเหตุการณ์ทางสังคมปัจจุบันด้วย และในภาค อีเมล : titinan@rumail.ru.ac.th
การศึกษานี้อาจารย์ได้พานักศึกษาไปทัศนศึกษาเรียนรู้นอกชั้นเรียนด้วย (ไม่รับติดต่อผ่านไลน์หรือเฟซบุ๊ก
ซึ่งท�าให้เห็นภาพการเรียนในแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ ส่วนตัว)
การศึกษาประชากร ส่วนใหญ่เป็นการมองประชากรในภาพกว้าง
อาจมีการพูดถึงตัวเลข หรือสถิติทางประชากรที่ส�าคัญ และการค�านวณอัตรา
ต่าง ๆ ที่เป็นมาตรฐานสากล เช่น อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการย้ายถิ่น