Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 41 วันที่ 21 - 27 มกราคม 2562
P. 6

๖                                                    ข่าวรามคำาแหง                                วันที่ ๒๑ - ๒๗ มกราคม ๒๕๖๒













           คณะนิติศาสตร์                                                                                                         ผศ.ภัทระ ลิมป์ศิระ

            มารู้จักเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนกัน (ตอนแรก)








                                                                                       สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา: 9. มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง
                                                                               (University of Yangon) 10. สถาบันเศรษฐศาสตร์ย่างกุ้ง (Yangon Institute
                                                                               of Economics) 11. สถาบันเทคโนโลยีย่างกุ้ง (Yangon Technological
                                                                               University)

                                                                                       สาธารณรัฐฟิลิปปินส์: 12. มหาวิทยาลัยอเทนีโอเดอมะนิลา (Ateneo
                                                                               de Manila University) 13. มหาวิทยาลัยเดอลาซาลเล (De La Salle University)
                                                                               14. มหาวิทยาลัยแห่งฟิลิปปินส์ (University of the Philippines)

                                                                                       มาเลเซีย: 15. มหาวิทยาลัยปุตรา มาเลเซีย (Universiti Putra Malaysia)
                                                                               16. มหาวทยาลัยมาลายา (Universiti Malaya) 17. มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์
                                                                               แห่งมาเลเซีย (Universiti Sains Malaysia) 18. มหาวิทยาลัยแห่งชาติมาเลเซีย

                   เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network: AUN)  (Universiti Kebangsaan Malaysia) 19. มหาวิทยาลัยอุตรา มาเลเซีย
           เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกสมาคม           (Universiti Utara Malaysia)

           ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ริเริ่มมาจากแนวคิดของการ                สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: 20. มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว
                                              th
           ประชุมสุดยอดผู้น�าอาเซียนครั้งที่ 4 (4  ASEAN Summit) ณ ประเทศ      (National University of Laos)
           สิงคโปร์ พ.ศ. 2535 ที่เรียกร้องให้รัฐสมาชิกช่วยกัน                          สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม: 21. มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม
                                                                               นครโฮจิมินห์ (Vietnam National University, Ho Chi Minh City)
                  “เร่งความเป็นน�้าหนึ่งใจเดียวกันและการพัฒนาเอกลักษณ์ 22. มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม ฮานอย (Vietnam National University,
           ประจ�าภูมิภาคผ่านการส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อเสริมสร้าง   Hanoi) 23. มหาวิทยาลัยเกิ่นเทอ (Can Tho University)
           เครือข่ายมหาวิทยาลัยชั้นน�าและสถาบันการศึกษาชั้นสูงในภูมิภาค                สาธารณรัฐสิงคโปร์: 24. มหาวิทยาลัยการจัดการแห่งสิงคโปร์
           (hasten the solidarity and development of a regional identity  (Singapore Management University) 25. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง

           through the promotion of human resource development so as  (Nanyang Technological University) 26. มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์
           to further strengthen the existing network of leading universities  (National University of Singapore)
           and institutions of higher learning in the region)”                         สาธารณรัฐอินโดนีเซีย: 27. มหาวิทยาลัยแห่งอินโดนีเซีย (Universitas

                                                                               Indonesia) 28. มหาวิทยาลัยกัดจาห์ มาดา (Universitas Gadjah Mada)
                  จากจุดเริ่มต้นนี้เอง จึงน�ามาสู่การก�าเนิดของเครือข่ายมหาวิทยาลัย 29. สถาบันเทคโนโลยีบันดุง (Institut Teknologi Bandung)
           อาเซียน เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 รวม 13 สถาบัน เพื่อพัฒนา 30. มหาวิทยาลัยแอร์ลังกา (Universitas Airlangga)
           ทรัพยากรมนุษย์ของภูมิภาคและสร้างความส�านึกในความเป็นอาเซียนขึ้น             เมื่ออาเซียนได้พัฒนาตนเองจากสมาคมอาเซียนให้กลายมาเป็น
           โดยฝ่ายกลไกความร่วมมือทางด้านอุดมศึกษา โดยมีการลงนามความตกลง ประชาคมอาเซียนนั้น เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน จึงกลายมาเป็นหนึ่ง

           เพื่อการจัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนขึ้น 2 ฉบับ คือ           ในองค์ประกอบขององค์กรรัฐมนตรีรายสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial
                  1. กฎบัตรเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (Charter of The  Body) ในส่วนของเสาด้านสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Political-Security
           ASEAN University  Network) และ                                      Community: APSC)
                  2. ข้อตกลงร่วมในการจัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน                เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนมีวัตถุประสงค์และให้ความส�าคัญ

           (Agreement on the Establishment of the ASEAN University Network) ในการด�าเนินการด้วยกัน 5 ประการ ดังนี้
                  ต่อมาได้ขยายความร่วมมือระหว่างอาเซียนเพิ่มมากขึ้นท�าให้              1. การส่งเสริมการสร้างความตระหนักในความเป็นอาเซียน
           สมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนเพิ่มจ�านวนเป็น 30 สถาบัน ดังนี้        2. การเพิ่มการเข้าถึงคุณภาพการศึกษาทั้งในระดับประถม มัธยม
                  พระราชอาณาจักรกัมพูชา: 1. มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ                  3. การเพิ่มคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน การเรียนรู้

           (Royal University of Phnom Penh) 2. มหาวิทยาลัยนิติศาสตร์และ                    ตลอดชีวิต และการพัฒนาวิชาชีพชั้นสูง
           เศรษฐศาสตร์ (Royal University of Law and Economics)                         4. การสร้างความเข้มแข็งให้กับการเคลื่อนย้ายพรมแดน และความเป็น
                  เนการาบรูไนดารุสซาลาม: 3. มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุสซาลาม                 สากลของการศึกษา
           (Universiti Brunei Darussalam)                                              5. การให้การสนับสนุน ส่งเสริมแก่ภาคส่วนงานอื่น ๆ

                  ราชอาณาจักรไทย: 4. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn
           University) 5. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Chiang Mai University)                  ส�าหรับในครั้งนี้ หน้ากระดาษได้หมดลงแล้ว ผู้เขียนขอมาต่อ
           6. มหาวิทยาลัยบูรพา (Burapha University) 7. มหาวิทยาลัยมหิดล          ในส่วนของกิจการอื่นๆ และเครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน
           (Mahidol University) 8. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Prince of Songkla   ในครั้งต่อไปนะครับ

            University)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11