Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 41 วันที่ 21 - 27 มกราคม 2562
P. 5

วันที่ ๒๑ - ๒๗ มกราคม ๒๕๖๒                            ข่าวรามคำาแหง                                                              ๕

           เศรษฐศาสตร์ 101






           คณะเศรษฐศาสตร์                          รศ.อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม
           ตอน                                                                  คณะมนุษยศาสตร์                               อาจารย์ตูซาร์ นวย


                    จะขึ้นดอกเบี้ยไปท�าไม                                             การสั่งอาหาร (6)





                  เมื่อปลายปี 2561 ที่เพิ่งผ่านมา แบงก์ชาติหรือธนาคารแห่งประเทศไทยเพิ่งให้  เมื่อคุณไปเยี่ยมชมในประเทศเมียนมา แล้วถ้าคุณต้องการสั่งอาหาร
           ของขวัญปีใหม่ (กับคนที่มีเงินฝากธนาคารอยู่เยอะ) โดยประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ย  ที่ร้านขายอาหาร, บทสนทนาต่อไปนี้เป็นตัวอย่างประโยคที่สามารถใช้ใน
           นโยบายเป็นครั้งแรกในรอบ 7 ปี แต่ของขวัญนี้ท�าให้คนที่กู้เงินมาผ่อนบ้านผ่อนรถอยู่
           ลมแทบจับเพราะท�าให้ภาระการผ่อนส่งมันแพงขึ้นไปอีก เหรียญมี 2 ด้านฉันใด นโยบาย  การสั่งอาหารได้
           อะไรก็ตามย่อมมีทั้งข้อดีและข้อเสียเสมอ ซึ่งคณะกรรมการนโยบายการเงินที่ประกาศ  ตัวอย่างบทสนทนา
           ขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายคราวนี้เสียงก็ยังไม่เป็นเอกฉันท์เพราะมีคนที่คัดค้านอยู่

                  การขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายนั้นเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของการด�าเนินนโยบาย ซ้าตู     [ซ้าโล่ปยี้ปยี, อ้าโล้ แบเล่าจะแล้]
           การเงินแบบเข้มงวด (tight monetary policy) ซึ่งตามหลักทฤษฎีแล้ว ธนาคารกลาง (ลูกค้าที่มากิน)  “กินเสร็จแล้ว, ทั้งหมดเท่าไร”
           ซึ่งเป็นผู้บริหารนโยบายการเงิน (ไม่ใช่รัฐบาลนะครับ) จะด�าเนินนโยบายการเงินแบบ
           เข้มงวดเมื่อเศรษฐกิจมีแนวโน้มจะขยายตัวร้อนแรงเกินไปหรือมีแนวโน้มว่าอัตราเงินเฟ้อ
           จะสูงเกินกรอบนโยบายที่ก�าหนด ทั้งนี้เพราะการขยายสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์  ซะบแว้โท้   [อ้าโล้นเบ้า จะ ชิเทาโก้ยา ปา, ซ้าตากะ คุนนะเทาเช่ายาง่าแซ่ง่า
           ถือได้ว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของการสร้างเงินในระบบ เมื่ออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นท�าให้การกู้เงิน        จะ แน่  เยต่านกะ ตะเท่านะยาเล้แซ่ง่า จะ ปา]
           มีน้อยลงจึงเท่ากับท�าให้กระบวนการสร้างเงินน้อยลงไปด้วย และเนื่องจากการบริโภค  (พนักงานเสิร์ฟ) “ทั้งหมดเป็น 8,900 จั๊ด ครับ, ที่กิน 7,655 จั๊ด กับน�้าเปล่า
           และการลงทุนส่วนส�าคัญได้เงินมาจากการกู้ยืม กล่าวคือการบริโภคประเภทผ่อนบ้าน         1,245 จั๊ด ครับ”
           ผ่อนรถที่ผมเขียนไว้ตอนต้นหรือการลงทุนด้วยการออกหุ้นกู้ของบริษัทใหญ่ ๆ นั้น

           ล้วนใช้จ่ายเงินที่มาจากการกู้ยืมทั้งสิ้น ดังนั้น การขึ้นอัตราดอกเบี้ยซึ่งเป็นเหตุให้ต้นทุน
           การกู้ยืมสูงขึ้น จึงท�าให้การใช้จ่ายบริโภคและลงทุนในระบบเศรษฐกิจมีแนวโน้มลดลง
           หรือการใช้จ่ายรวมในระบบเศรษฐกิจชะลอตัวลง ซึ่งช่วยลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อได้ดี   ซ้าตู     [ดีมา ตะเต้านอ, ปยาน มะอ้านแน่ด่อ, โปตา มี้นโก ติ๊บเป้ดา]
           เนื่องจากเมื่อคนใช้จ่ายซื้อน้อยลง ราคาสินค้าต่าง ๆ ย่อมไม่สามารถปรับตัวในทางสูงขึ้น  (ลูกค้าที่มากิน)  “นี่ 10,000 นะ, ไม่ต้องทอนหรอก, ส่วนที่เหลือให้เป็นทิป
           ได้มากนัก                                                                           กับเธอนะ”
                  อีกเหตุผลหนึ่งทางทฤษฎีที่จะท�าให้ต้องใช้นโยบายการเงินแบบเข้มงวดก็คือ
           เมื่อระบบเศรษฐกิจเกิดปัญหาการขาดดุลการค้าอย่างรุนแรง การขึ้นอัตราดอกเบี้ย ซะบแว้โท้   [เจ้ซู้ตินปาแต คินบยา, เนาะแล้ ลาปาโอ้น คินบยา]
           จึงท�าให้การบริโภคสินค้าน�าเข้าและการลงทุนซึ่งต้องสั่งซื้อสินค้าน�าเข้า เช่นเครื่องจักรหรือ (พนักงานเสิร์ฟ) “ขอบคุณครับ, โอกาสหน้า มาอีกนะครับ”
           ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเป็นจ�านวนมากนั้นท�าได้ลดน้อยลง ด้วยเหตุผลที่ผมเขียนไว้ตอนต้น     ตามหลักไวยากรณ์ภาษาเมียนมา การใช้ค�าลักษณะนามหรือหน่วย-
           ซึ่งก็คือเป็นเพราะการใช้จ่ายบริโภคและลงทุนเหล่านี้ส่วนหนึ่งมาจากการกู้เงินนั่นเอง   นับนั้น ถ้าเป็นเลขที่ลงท้ายด้วยหลักหน่วย ตั้งแต่ 1 ถึง 9 รวมไปถึงจ�านวน 10
                  แต่เอ....ท่านผู้อ่านคิดว่าเราอยู่ในสถานการณ์ที่ควรต้องใช้นโยบายการเงิน  จะใช้รูปแบบ “จ�านวน ตามด้วย หน่วยนับ” แต่ถ้าเป็นเลขที่ลงท้ายด้วย 0

           แบบเข้มงวดหรือเปล่า เพราะเศรษฐกิจไทยแม้จะเติบโตดีขึ้นในปี 2561 แต่ก็ยังไม่อาจ  แต่มากกว่า 10 นั้น จะเอาหน่วยนับมาไว้ข้างหน้าจำานวน ในบทสนทนานี้
           ถือได้ว่าขยายตัวร้อนแรงเกินไป อัตราเงินเฟ้อ (ตามข้อมูลสถิตินะครับไม่ใช่ตามความรู้สึก
           ของคน) ก็ไม่สูงมาก แถมเรายังไม่มีปัญหาขาดดุลการค้าอย่างร้ายแรงด้วย ที่ส�าคัญคือ  ค�าว่า    [จะ] ที่เป็นหน่วยนับเงินตราของเมียนมานั้น อยู่ข้างหน้าตัวเลข
           ตามข่าวเขาว่าในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ (2562) แบงก์ชาติจะขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย  8,900 ที่ลงท้ายด้วย 0 แต่หน่วยนับเงินตรา    [จะ] นั้น ไปอยู่ข้างหลังตัวเลข
           อีกหนหนึ่งเสียด้วย ซึ่งเรื่องนี้มีนักวิเคราะห์บางคนที่ผมอ่านจากข่าวเขาบอกว่าเป็นเพื่อ  7,655 และ 1,245 ที่ลงท้ายด้วยหลักหน่วย
           เตรียมช่วงห่างอัตราดอกเบี้ยไว้ส�าหรับลดเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในอนาคตเพราะอัตรา     ยกตัวอย่าง เช่น
           ดอกเบี้ยก่อนหน้านี้นั้นต�่ามากจนลดลงอีกแทบไม่ได้แล้วเลยต้องขึ้นไปอีกราวสัก 0.5%  1.                      [กะซู้น ยแวะ ดะซี้โก แซ่ง่า บะ ปา]
           (ขึ้น 2 ครั้ง ครั้งละ 0.25) จนเป็น 2 % ในตอนปลายปี เพื่อว่าต่อไปจะได้ใช้นโยบาย    “ผักบุ้งหนึ่งก�า 15 บาท”
           ลดอัตราดอกเบี้ยกระตุ้นเศรษฐกิจได้ เรื่องที่นักวิเคราะห์คนนี้พูดไว้ผมยังไม่ค่อย 2.                           [ตะแยะตี้ อะแม่ ตะโล้นโก บะ

           เชื่อมากนักเพราะไม่ได้มาจากการแถลงของคณะกรรมการนโยบายการเงินเอง และที่ส�าคัญ     เช่าแซ ปา]  “มะม่วงสุก ลูกละ 60 บาท”
           คือดูไม่มีเหตุผลเอาเสียเลยที่จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อเตรียมไว้ลดในอนาคต  3.                             [เลน มอตี้ ตะกีโลโก เช่าแซ่โก บะ ปา]
                  มาดูผลเสียทางทฤษฎีของการขึ้นอัตราดอกเบี้ยดูบ้าง การขึ้นอัตราดอกเบี้ย     “ส้มกิโลกรัมละ 69 บาท”
           ซึ่งเท่ากับไปเพิ่มต้นทุนการกู้ยืมนั้นย่อมท�าให้การบริโภคและการลงทุนลดลงตามเหตุผล  4.                   [ซะบยิตี้ ตะกีโลโก บะ เล้ย่าง่าแซ ปา]
           ที่ผมเขียนไปแล้ว แต่เนื่องจากการบริโภคและการลงทุนนั้นเป็นส่วนประกอบส�าคัญของ     “องุ่นกิโลกรัมละ 450 บาท”
           รายได้ประชาชาติหรือ GDP ซึ่งนักศึกษาที่เรียนเศรษฐศาสตร์มหภาคทุกคนต้องท่องกัน  5.                            [ตี้ มเว้ งะปยอตี้ ตะพี้โก คุนนะ
           ได้อยู่แล้วว่า GDP เท่ากับ C + I + G + X - M (การบริโภค + การลงทุน + การใช้จ่าย     แซ่ง่า บะ ปา]  “กล้วยหอมหนึ่งหวี 75 บาท ครับ”
           รัฐบาล + การส่งออก - การน�าเข้า) เมื่อ 2 ตัวหลักนี้ลดลง เศรษฐกิจย่อมมีแนวโน้ม
           ชะลอตัวลงแน่ ซึ่งถ้าเศรษฐกิจก�าลังขยายตัวร้อนแรงเกินไปที่ศัพท์เขาเรียกว่า overheat    เขียนมายืดยาวนี่เป็นข้อคิดเห็นทางทฤษฎีเท่านั้นนะครับ เพราะในความเป็นจริง
           เหมือนเครื่องยนต์ที่เร่งจนร้อนเกินไป การท�าให้เศรษฐกิจชะลอตัวลงบ้างคงไม่มีปัญหา อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่คณะกรรมการนโยบายการเงินประกาศนั้นเป็นแค่อัตราชี้แนะ
           แต่ถ้าเศรษฐกิจก�าลังฟื้นตัวอยู่ดี ๆ แล้วไปดึงมันให้ชะลอตัวลงนี่สิครับ น่าคิดว่าผล ธนาคารพาณิชย์ไม่จ�าเป็นต้องปรับขึ้นทันทีก็ได้ โดยเฉพาะเมื่อสภาพคล่อง (คือเงินฝาก)
           จะเป็นอย่างไร เรื่องนี้ผมขออ้างอิงกรณีสหรัฐอเมริกาสักหน่อยเพราะธนาคารกลาง ยังล้นแบงก์อยู่มาก การขึ้นอัตราดอกเบี้ย ซึ่งต้องขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝากด้วยไม่ใช่

           สหรัฐฯก็ขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายวันเดียวกับไทยเหมือนกัน นักการเมืองทางฝั่งรัฐบาล  อัตราดอกเบี้ยเงินกู้อย่างเดียว ย่อมสร้างภาระให้กับธนาคารพาณิชย์มากขึ้นเพราะต้อง
           (ผมบอกแล้วว่านโยบายการเงินเป็นของธนาคารกลางไม่ใช่รัฐบาล) ออกมาโวยกันใหญ่ หาเงินมาจ่ายดอกเบี้ยเงินฝากเพิ่มด้วย แถมยังต้องห่วงว่าถ้าขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แล้ว
           ว่าเศรษฐกิจก�าลังขยายตัวดี ๆ มาท�าให้ชะลอตัวท�าไม                    จะท�าให้เกิดหนี้เสียเพราะคนหาเงินมาผ่อนไม่ไหวมากขึ้นหรือเปล่าด้วย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10