Page 4 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 41 วันที่ 21 - 27 มกราคม 2562
P. 4

๔                                                    ข่าวรามคำาแหง                                วันที่ ๒๑ - ๒๗ มกราคม ๒๕๖๒



                                                                                 นกขุนทองเลื่องชื่อ



                                                                                        ระบือนามรามคำาแหง

                 วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ RU e-Thesis


           มหาวิทยาลัยรามค�าแหง (ตอนที่ 1) นางสาวธีร์จุฑา เมฆิน                                                                    วิมล  ชีวะธรรม

                  ทรัพยากรสารสนเทศหลักที่หน่วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books)
           ด�าเนินการจัดท�าก็คือ “วิทยานิพนธ์” โดยวิทยานิพนธ์ (Thesis) เป็นเอกสาร
           น�าเสนอผลการศึกษาวิจัยที่เขียนโดยนักศึกษา และเป็นเอกสารบังคับในการ
           ส�าเร็จการศึกษา ส�าหรับนักศึกษาใน

           สถาบันอุดมศึกษา สามารถแบ่งออก
           ตามล�าดับชั้นของปริญญา ได้แก่
           สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์

           โดยเมื่อนักศึกษาส�าเร็จการศึกษา
           ในแต่ละภาคเรียน บัณฑิตวิทยาลัย ตัวเล่มวิทยานิพนธ์และแผ่น CD บันทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์                            ภาพประกอบ นกขุนทองใต้กลาย
           จะท�าการรวบรวมวิทยานิพนธ์ของผู้ส�าเร็จการศึกษาจัดส่งมายังหน่วยหนังสือ                                          (https://pasusat.com/นกขุนทอง/)
           อิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) ของส�านักหอสมุดกลาง เพื่อเข้าสู่กระบวนการ          นกขุนทองเป็นสัตว์ที่นิยมน�ามาเลี้ยง  มีชื่อสามัญว่า Hill Mynah
           ขั้นตอนจัดท�าและจัดเตรียมตัวเล่มวิทยานิพนธ์ก่อนออกให้บริการ          หรือ Hill Mynas หรือ Hill Myna พบในแถบเอเชียเท่านั้น ตั้งแต่อินเดีย

                                                                                จีน พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม  มาเลเซีย  อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์

                                                                                ในประเทศไทยมีอยู่ 2 ชนิด คือ นกขุนทองเหนือ และนกขุนทองใต้ ซึ่งทั้ง

                                                                                สองชนิดมีพฤติกรรมความเป็นอยู่ไม่แตกต่างกัน เป็นสัตว์ที่นิยมน�ามาเลี้ยง
                                                                                เพราะมีความสามารถในการเลียนเสียง สามารถสอนให้พูดค�าต่างๆ ได้มากมาย

                                                                                จึงท�าให้ลูกนกที่มีอยู่ตามธรรมชาติถูกขโมยจากรังมาเป็นสินค้าส่งขายทั้ง
                                                                                ตลาดในประเทศและต่างประเทศ ท�าให้จ�านวนนกขุนทองลดน้อยลง จึงท�าให้
                                                                                เกิดโครงการวิจัยนกขุนทองไทยขึ้น โดยรองศาสตราจารย์ ดร.มณี อัชวรานนท์

                                                                                อาจารย์ประจ�าภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง

                                                                                       โครงการวิจัยนกขุนทองเริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. 2531- พ.ศ. 2548
                                                                                โดยได้รับเงินทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยรามค�าแหง ศูนย์พันธุวิศวกรรม
                  ตัวเล่มวิทยานิพนธ์ที่ประทับตราหอสมุด  ตัวเล่มวิทยานิพนธ์ที่ให้บริการบนชั้น
                                                                                และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโน-
                  เมื่อหน่วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) รับตัวเล่มวิทยานิพนธ์
           มาจากบัณฑิตวิทยาลัยแล้ว ขั้นตอนแรกในการจัดท�าคือ การตรวจสอบ          โลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
           ความถูกต้องของวิทยานิพนธ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยจัดส่งมา โดยวิทยานิพนธ์ที่  ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โครงการพัฒนาองค์ความรู้และ
           จัดส่งมาประกอบไปด้วย ตัวเล่มวิทยานิพนธ์เข้าปกฉบับสมบูรณ์ 1 ชื่อเรื่อง  ศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (BRT) และ
           ต่อจ�านวนเล่ม 2 เล่ม, ตัวเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ที่ยังไม่เข้าปก 1 เล่ม  Wildlife Conservation International Thailand งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์

           และแผ่น CD บันทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็มจ�านวน 1 แผ่น ในส่วนของ หลักเพื่อการเพาะและขยายพันธุ์นกขุนทอง เพราะสามารถท�าให้นกขุนทอง
           ขั้นตอนการตรวจสอบจะแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ การตรวจสอบความ       มีลูกได้ตลอดปี ทั้งในฤดูสืบพันธุ์ตั้งแต่มกราคม-กรกฎาคม และนอกฤดูสืบพันธุ์

           ถูกต้องของตัวเล่มวิทยานิพนธ์ และการตรวจสอบ File ในแผ่น CD บันทึก     ช่วงเดือนสิงหาคม-ธันวาคม  โครงการวิจัยนกขุนทองไทยนี้ยังคงด�าเนินการ
           ข้อมูลให้ตรงกับเล่มวิทยานิพนธ์ที่ได้รับ ในกรณีที่แผ่น CD บันทึกข้อมูล   ต่อไป เพื่อหาวิธีการเพิ่มผลผลิตนกขุนทองให้มากขึ้นและยังมีการศึกษาค้นคว้า
           เปิดไม่ได้ จะด�าเนินการสแกนจากวิทยานิพนธ์ฉบับไม่เข้าปก และจัดเก็บใน  ในแง่มุมต่างๆ อันเป็นประโยชน์ นับเป็นโครงการวิจัยที่น�าชื่อเสียงมาสู่
           รูปแบบ PDF แบบ File เดียว เพื่อรอการน�าไฟล์ข้อมูลจัดเก็บเข้าสู่ฐานข้อมูล
           ทรัพยากรสารสนเทศในขั้นตอนต่อไป                                       มหาวิทยาลัยรามค�าแหงและวิทยาเขตบางนา ซึ่งเป็นสถานที่ท�าการศึกษา

                  ส�าหรับขั้นตอนหลังจากการตรวจสอบความถูกต้องของตัวเล่มและ       ค้นคว้าทดลอง โดยมีข่าวสารเผยแพร่ทางสื่อต่างๆ เป็นความภาคภูมิใจของ
           ไฟล์วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มคือ การจัดท�าวิทยานิพนธ์ด้วยการประทับตราส�านัก  พวกเราทุกคน
           หอสมุดกลางที่ตัวเล่ม เล่มแรกจะประทับตราส�านักหอสมุดด้วยสีน�้าเงิน    บรรณานุกรม

           เป็นตัวเล่มที่ให้บริการ ณ บริเวณชั้น 1 อาคาร 3 งานบริการสารสนเทศ     ปศุสัตว์ดอทคอม. (2558). นกขุนทอง และการเลี้ยงนกขุนทอง. ค้นเมื่อ 16
           อิเล็กทรอนิกส์ ส�านักหอสมุดกลาง ส่วนเล่มที่สองจะประทับตราส�านักหอสมุด
           ด้วยสีเขียว เป็นตัวเล่มที่ให้บริการ ณ งานบริการสารสนเทศ ห้องสมุดวิทยาเขต  ธันวาคม 2561,
           บางนา จากนั้นจะบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมของวิทยานิพนธ์เข้าสู่ฐานข้อมูล      จาก https://pasusat.com/นกขุนทอง/
           ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด และก�าหนดหัวเรื่องส�าหรับสืบค้นโดยพิจารณา   มณี อัชวรานนท์. (2549). นกขุนทอง: งานวิจัยเพื่อการอนุรักษ์นกในเขตร้อน.

           จากเนื้อหาและสาขาวิชาของวิทยานิพนธ์ เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้น        กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง.
           วิทยานิพนธ์ได้ตรงตามเนื้อหาที่ต้องการมากยิ่งขึ้น เมื่อด�าเนินการตาม มหาวิทยาลัยรามค�าแหง. (2541). มหาวิทยาลัยรามค�าแหง วิทยาเขตบางนา
           ขั้นตอนที่กล่าวมาแล้วก็จัดพิมพ์เอกสารรายชื่อวิทยานิพนธ์พร้อมตัวเล่ม ราม 2: ไม้งามราม 2 ขุนทอง

           น�าส่งออกบริการต่อไป                                                        เลื่องชื่อ สื่อสัมพันธ์บางนา [เอกสารแผ่นพับ]. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
                                        (มีต่อในตอนที่ 2 ฉบับหน้า)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9