Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 37 วันที่ 24 - 30 ธันวาคม 2561
P. 6

๖                                                    ข่าวรามคำาแหง                                   วันที่ ๒๔ - ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๑













           คณะนิติศาสตร์                                                                                                          ผศ.ภัทระ ลิมป์ศิระ
              สรุปสาระ “ความสัมพันธ์มาเลเซีย-ไทย ในบริบทของอาเซียน”



                  เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2561 ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้มาบรรยาย    จะให้อาเซียนเติบโตอย่างรวดเร็ว ต้องเปลี่ยนทัศนคติ "การเป็นผู้บริโภค"

           พิเศษในหัวข้อ "ความสัมพันธ์มาเลเซียและไทย ในบริบทของอาเซียน"          ที่มุ่งเน้นการน�าเข้าสินค้าจากผู้อื่น มาเป็น "ผู้ผลิต" คือการผลิตเองใช้กันเอง
           ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในโอกาสเดินทางเยือนประเทศไทย หลังขึ้นรับ      ในอาเซียนอย่างยั่งยืน โดยได้ยกตัวอย่างญี่ปุ่น ที่ฟื้นตัวเองจากการพ่ายแพ้
           ต�าแหน่งนายกรัฐมนตรีมาเลเซียอีกครั้ง โดยท่านได้เน้นย�้าถึงสายสัมพันธ์  ในสงครามโลก มาเป็นผู้ผลิตรถยนต์ จนพาเศรษฐกิจของประเทศให้ขึ้นสู่อัน
           ระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซียที่แม้ว่าจะมีความขัดแย้งกันเกิดขึ้น  ดับต้นๆ ของโลกได้
           มาบ้างก็ตาม แต่ทว่า ท่ามกลางการกระทบกระทั่งนั้น ทั้งสองประเทศต่างก็          เมื่ออาเซียนถูกเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรป (EU) แล้วมหาเธร์ยัง
           ยังคงถือว่ามีฝ่ายนั้นเป็นมหามิตรในอาเซียนที่มีประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์  ได้ตอบว่า ในตอนนี้ ท่านมองว่า EU ไม่ได้เป็นองค์กรที่มีความร่วมมืออย่าง

           กันมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ก่อนประเทศมาเลเซียจะประกาศเอกราชจาก           สามัคคี และเป็นหนึ่งเดียวมากนัก แต่มีปัญหาภายในมากมาย ซึ่งอาเซียน
           ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2500 เสียอีก และยังคงมิตรภาพเรื่อยมา        ควรร่วมมือกันด้านเศรษฐกิจให้เข้มแข็ง แต่ในด้านการเมืองต้องเคารพ
                  ในอดีตหลังการประกาศเอกราชของประเทศมาเลเซียเกิดปัญหา            กันและกัน และต้องไม่กดดันประเทศที่ยังไม่พร้อมเป็นประชาธิปไตยด้วย
           ช่วงจลาจลกับคอมมิวนิสต์ ระหว่างวิกฤตการณ์มาลายาครั้งที่ 2 ที่รู้จักในชื่อ     ต่อด้วยค�าถามเรื่องการเมืองและประชาธิปไตยนั้น ดร.มหาเธร์ ที่เคย
           สงครามจลาจลคอมมิวนิสต์ ประเทศไทยเองได้เข้ามาช่วยเหลือ ดังนั้น ประเทศ  ด�ารงต�าแหน่งนายกฯ มา 23 ปี ยอมรับว่า การตัดสินใจที่ดีที่สุดตลอดที่นั่ง

           มาเลเซียจึงรู้สึกว่าเป็นหน้าที่ ที่จะช่วยเหลือประเทศไทยในการแก้ไข
           ความขัดแย้ง รวมถึงสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็น   เก้าอี้นายกรัฐมนตรีมานั้น คือ การตัดสินใจฟังเสียงประชาชน เพราะใน
           ประเด็นที่ก่อนหน้านี้ ที่ ดร.มหาเธร์ ได้เข้าหารือกับนายกรัฐมนตรีไทยเพื่อร่วม  ประเทศประชาธิปไตยนั้น หากคุณสนองตอบความต้องการของประชาชน
           พัฒนาความมั่นคงทางชายแดนภาคใต้ระหว่างกัน                              มากเท่าไหร่ เขาก็จะสนับสนุนคุณมากเท่านั้น หรือแม้กระทั่งการกระท�าง่าย ๆ
                                                                                 อย่างลงพื้นที่ไปพูดคุยกับเขา จับมือพวกเขา ทั้งยังย้�าด้วยว่าตนไม่ใช่เผด็จการ

                                                                                 และเป็นประชาธิปไตย ที่ได้รับคะแนนเสียงส่วนใหญ่จากประชาชนในการ
                                                                                 เลือกตั้งที่ผ่านมา
                                                                                        อีกหนึ่งค�าถามที่เรียกเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากผู้ที่ชมการถ่ายทอด
                                                                                 ผ่านเฟซบุ๊กเพจของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมากที่สุดในเวทีบรรยายครั้งนี้

                                                                                 คือ ประเด็นเรื่องความหลากหลายทางเพศ (Lesbian, Gay, Bisexual,
                                                                                 Transgender & Queer: LGBTQ) ที่ในบางรัฐของมาเลเซีย ยังคงมีการลงโทษ
                                                                                 ด้วยกฎหมายชารีอะห์ หรือกฎหมายตามหลักศาสนาอิสลามกับกลุ่ม LGBTQ

                                                                                 ซึ่ง ดร.มหาเธร์ได้ให้ความเห็นถึงประเด็นนี้ว่า ปัจจุบันในโลกมีการพูดถึง
                                                                                 เรื่องของความเท่าเทียมมากขึ้น แต่ส่วนตัวแล้ว ตนเป็นคนที่ยึดถือ
                                                                                 ในคุณค่าแบบเอเชีย (Asian Value) และประเทศมาเลเซียก็ยึดถือคุณค่า
                  นอกจากนี้ ดร.มหาเธร์ ยังกล่าวถึงความร่วมมือในกรอบของอาเซียน    บนหลักของศาสนา ซึ่งบางครั้งอาเซียนก็รับคุณค่าของตะวันตกเข้ามาปรับ
           ที่เริ่มต้นจาก 5 รัฐสมาชิก ซึ่งประเทศไทยและประเทศมาเลเซียต่างก็เป็น   แต่อาจจะไม่จ�าเป็นที่ประเทศมาเลเซียต้องท�าตามเขาทุกอย่าง ประเทศ
           รัฐสมาชิกก่อตั้งด้วย ซึ่งอาเซียนเป็นองค์กรที่เป้าหมายจัดการความแตกต่าง  มาเลเซียก็มีคุณค่าของตนเอง ใครจะยอมรับเรื่องนี้ก็เป็นเรื่องของเขา

           ในภูมิภาคด้วยสันติวิธี ซึ่งอาเซียนก็โดดเด่นในการแก้ปัญหาโดยสันติ และท�าให้  แต่อย่าบังคับให้ต้องยอมรับทุกอย่าง โดยเน้นย�้าว่า “เราต้องมีเสรีภาพ
           เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สงบสุขมาโดยตลอด และปัจจุบันยังมีสมาชิกถึง       ที่จะไม่เปลี่ยนแปลงด้วย”
           10 ประเทศทั่วภูมิภาค ที่ถือเป็นความส�าเร็จในการก่อตั้งองค์กรนี้ขึ้นมา        ก่อนจบการตอบค�าถาม ดร.มหาเธร์ยังเน้นย�้าว่าอาเซียนควรพัฒนา
                  ทั้งนี้ ดร.มหาเธร์ ประกาศว่า ความสัมพันธ์ของประเทศไทย          ความรู้และทักษะ ทั้งประชาชนควรเข้าถึงด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาก
           และประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะในทางภาคใต้ ต้องจัดการปัญหาโดยสันติ         ยิ่งขึ้น รวมถึงปรับตัวกับโลกที่จะมีเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่าง AI หรือหุ่นยนต์

           และไม่ใช้ความรุนแรง โดยยกกรณีกรณีความขัดแย้งในอดีต เช่น พิพาทพื้นที่  ที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
           ทับซ้อนในอ่าวไทยระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย ที่ท้ายสุด
           สามารถหาข้อยุติและตกลงร่วมกันได้ ด้วยวิถีการเจรจา ถ้าเช่นนั้น ปัญหา          ในด้านของการศึกษา มหาวิทยาลัยในอาเซียนต้องการการร่วมมือ
           ความขัดแย้งที่ประเทศประเทศไทยเผชิญในพื้นที่ภาคใต้ ก็สามารถแก้ไขได้ด้วย  ด้านการศึกษา และผลิตงานวิจัยให้มากขึ้น โดยภาษาเป็นเรื่องส�าคัญ
           หนทางสันติ ซึ่งเราร่วมกันหาข้อยุติได้ด้วยการเจรจาอย่างสันติ ทั้งยังหวังว่า  เช่น ในประเทศมาเลเซียที่มหาวิทยาลัยเลือกใช้ภาษาอังกฤษ ท�าให้มีการไป
           ในอนาคต ความสัมพันธ์ของไทยและมาเลเซียจะพัฒนาร่วมกันยิ่งขึ้นไป         เรียนต่อมหาวิทยาลัยที่ใช้ภาษาอังกฤษ หรือตีพิมพ์งานวิจัยที่ใช้ภาษาอังกฤษ
                  หนึ่งในค�าถามจากประชาชนและภาคธุรกิจ คือ ประเทศประเทศไทย        มากขึ้นด้วย ซึ่งงานวิจัยจะเป็นส่วนหนึ่งที่เข้ามาเสริมการพัฒนาประเทศได้

           จะเป็นประธานอาเซียนในปี 2562 ประเทศมาเลเซียมีค�าแนะน�าอะไรบ้างนั้น           ข้อสังเกต คือ ก่อนที่ ดร.มหาเธร์ จะเดินทางเยือนประเทศไทยนั้น
           ดร.มหาเธร์ หวังว่า จากตลาดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการร่วมมือ      ได้เปลี่ยนหัวหน้าคณะผู้อ�านวยความสะดวกมาเป็น ตัน สรี อับดุล ราฮิม บิน
           ของประชากรอาเซียนกว่า 600 ล้านคน เราสามารถร่วมมือกันผลักดัน           โมฮัมหมัด นูร์ ซึ่งเป็นอดีตผู้บัญชาการต�ารวจประเทศมาเลเซีย มีประสบการณ์สูง
           เปลี่ยนจากผู้น�าเข้า เป็นผู้ผลิตสินค้าส่งออกเองได้ ซึ่งจะสร้างมูลค่า  ในเรื่องความขัดแย้งชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ซึ่งเขาได้เดินทางร่วมคณะ
           และผลักดันให้ภูมิภาคนี้เติบโตไปได้อีกมาก และความส�าเร็จด้านการแก้ไข   มาในครั้งนี้ด้วย และได้เข้าพบกับคณะผู้เจรจาฝ่ายประเทศไทยคณะใหม่

           ปัญหา ด้วยหลักไม่แทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิกอื่น ๆ แต่ถ้า       ที่น�าโดยพลเอกอุดมชัย ธรรมสาโรรัชต์
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11