Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 29 วันที่ 29 ตุลาคม - 4 พฤศจิกายน 2561
P. 3

วันที่ ๒๙ ตุลาคม - ๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๑                    ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓









           How to สอบผ่าน                                                                                    HIS 1002



                    HIS                                                                                       ไม่ยาก





                    1001                                                                                      อยากสอบผ่าน



                                                                                                              ต้องตั้งใจอ่าน






                                                                                                                                 วิชา HIS 1002 อารยธรรมตะวันออก
                                                                                ความส�าคัญของอดีตที่พลิกชีวิตสู่ความส�าเร็จในปัจจุบัน แนะนักศึกษาสอบ
                  แนะเทคนิคสอบผ่าน HIS 1001                                     ผ่านได้..ไม่ยาก หากตั้งใจอ่านหนังสือ จับประเด็นให้เป็น เน้นความจ�าเพื่อ
           อารยธรรมตะวันตก เผยทริคตำาราเล่มเล็ก                                 ต่อยอดขั้นสูง
           เอาอยู่  อยากได้เกรดสวยอ่านเล่มใหญ่                                         วิชานี้มีผู้สอนคือ อาจารย์ปฐม ตาคะนานันท์ และ อาจารย์เมธีพัชญ์
           พร้อมฟังบรรยายและสรุปท้ายคาบวิชา                                     จงวโรทัย ทั้ง 2 เป็นอาจารย์ประจ�าภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์

           แนะสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากภาพยนตร์                                ส�าหรับเนื้อหากระบวนวิชา อาจารย์ปฐม เปิดเผยว่าวิชานี้ศึกษาเกี่ยวกับ
           ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์เป็นแนวทาง                              อารยธรรมตะวันออก ผ่านวัฒนธรรม ประเพณี วิธีคิด และศาสนา หรือสิ่งที่
           เพื่อรู้ประเด็นหลักของประวัติศาสตร์                                  มนุษย์ได้สร้างขึ้นและมีผลสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นเรื่องราวของมนุษย์
           ตะวันตกนำาไปสู่การอ่านหนังสืออ้างอิง                                 ที่มีความสัมพันธ์กันทุกด้าน ส�าหรับเนื้อหาของวิชานี้แบ่งเป็น 4 ตอน ได้แก่

           ประกอบและเนื้อหาที่ถูกต้อง                                           อารยธรรมตะวันออกกลาง อารยธรรมเอเชียตะวันออก อารยธรรมเอเชียใต้
                  วิชา HIS 1001 อารยธรรมตะวันตก สอนโดย อาจารย์นันทพร พุ่มมณี    และอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
           และอาจารย์ ดร.สมิทธ์ ถนอมศาสนะ อาจารย์ทั้ง 2 ท่านเป็นอาจารย์ประจ�า          ในส่วนของข้อสอบวิชานี้ เป็นข้อสอบปรนัย 120 ข้อ แบ่งเป็น 4 ตอน
           ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง             ได้แก่ อารยธรรมตะวันออกกลาง 30 ข้อ เนื้อหาเกี่ยวกับอียิปต์โบราณ เมโส-

                  อาจารย์นันทพร  เล่าว่าภาพรวมของวิชา  HIS  1001  อารยธรรม      โปเตเมีย เปอร์เซียนโบราณ และมุสลิม อารยธรรมเอเชียตะวันออก 30 ข้อ
           ตะวันตก มีเนื้อหาค่อนข้างกว้างโดยเริ่มตั้งแต่พัฒนาการของมนุษย์ยุคหิน  จะเน้นประเทศจีนที่เป็นแม่บทของอารยธรรมตะวันออก และญี่ปุ่นโบราณ
           จนจบยุคสงครามเย็น มีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่ประวัติศาสตร์ พัฒนาการ     อารยธรรมเอเชียใต้ 30 ข้อ เน้นเนื้อหาของอินเดียที่เป็นต้นก�าเนิด และ
           และการด�าเนินชีวิตของมนุษย์ เทคโนโลยี กฎหมาย ศิลปะ การเมืองการปกครอง  อารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 30 ข้อ ทั้งนี้ แนะน�านักศึกษาแบ่งกันอ่าน

           เน้นรูปแบบและการปฏิรูป ปฏิวัติทางการเมือง ศาสนาคริสต์ซึ่งเป็นรากฐาน  ตามที่สนใจ แล้วมารวมกลุ่มกันติวจะช่วยได้มาก
           ของอารยธรรมตะวันตก รวมทั้งเหตุการณ์และบุคคลทางประประวัติศาสตร์              “วิชานี้ไม่ยาก หากตั้งใจอ่านหนังสือและจับประเด็นเพราะเป็นเรื่องที่อยู่
           ที่ส่งผลต่อการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกตะวันตก โดยจะเน้นโซนยุโรป  ในชีวิตประจ�าวันของเรา แต่ถูกเพิกเฉย จ�าประเด็นส�าคัญให้ได้ เช่น ใคร ท�าอะไร
           ตะวันตกเป็นหลัก เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน โปรตุเกส และอิตาลี  เยอรมัน    ที่ไหน อย่างไร จ�าประวัติและที่มาของสงคราม จักรวรรดิ เหตุการณ์ และ

           และมหาอ�านาจนอกโซน ได้แก่ อเมริกา                                    สนธิสัญญาต่างๆ ข้อสอบออกตามเนื้อหาในต�าราเพื่อเอื้อต่อนักศึกษาที่ไม่สะดวก
                  “ช่วงบทแรกๆ มีเนื้อหาที่คุ้นเคย ตั้งแต่สายพันธุ์ของมนุษย์วิวัฒนาการ  เข้าเรียน ไม่เน้นคิดวิเคราะห์ แต่เน้นความจ�า เพื่อน�าไปต่อยอดในการคิดวิเคราะห์
           จากลิง ยุคหิน ยุคโลหะ โดยจะเน้นที่ช่วงสุดท้ายที่มนุษย์เริ่มเลิกเร่ร่อนตั้งถิ่นฐาน  ในวิชาขั้นสูงต่อไป และเพื่อน�าไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต”
                                                                                       อาจารย์ปฐม บอกอีกว่ามหาวิทยาลัยมีสื่ออ�านวยความสะดวกให้

           และสร้างอารยธรรม เข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์ เริ่มอยู่ร่วมกันเป็นสังคม   นักศึกษามากมาย สามารถท�างานไปด้วย เรียนไปด้วยได้ หากไม่สะดวกเข้าเรียน
           มีขนบธรรมเนียมประเพณี มีกฎหมาย ศาสนา จนเข้าสู่อารยธรรมต้นก�าเนิด     สามารถดูวิดีโอบรรยายย้อนหลัง และอ่านหนังสือควบคู่ไปด้วย เป็นช่องทาง
           ของโลก คืออารยธรรมอียิปต์ และอารยธรรมเมโสโปเตเมีย ซึ่งเนื้อหาช่วงนี้  การเรียนที่เอื้ออ�านวยให้นักศึกษา สอดรับกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน
           นักศึกษาเข้าใจง่ายเนื่องจากเป็นความรู้พื้นฐานตั้งแต่มัธยมปลาย”              “ต�าราเรียนยังคงเป็นสื่อหลักในการอ่านเพื่อเตรียมสอบ และการบรรยาย
                  อาจารย์นันทพร เล่าต่อไปว่าหลังจากอารยธรรมอียิปต์และ           ในห้องเรียนเกร็ดความรู้ที่มีการอัปเดตใหม่อยู่เสมอ บางเนื้อหาที่ไม่ได้อยู่ในต�ารา

           อารยธรรมเมโสโปเตเมียแล้ว ก็เริ่มเข้าสู่รากฐานที่แท้จริงของอารยธรรมตะวันตก  แต่มีความส�าคัญที่ต้องใช้ในอนาคต ดังนั้นนักศึกษาจะต้องหมั่นติดตามข่าวสาร
           คือ อารยธรรมกรีกและโรมัน เป็นเรื่องราวที่สนุก เข้าใจง่าย เช่น มหากาพย์  ต้องเตรียมตัวส�าหรับการแข่งขันที่ไม่ใช่แค่ในประเทศไทยและอาเซียน”
           สงครามม้าไม้เมืองทรอย หรือต�านานเกี่ยวข้องกับเทพซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีคือ      ส�าหรับเหตุผลที่ต้องเรียนประวัติศาสตร์  อาจารย์ปฐม บอกว่าเพื่อ
           ซุส โพไซดอน เช่น กีฬาโอลิมปิก ที่จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้ากรีกที่อยู่บนภูเขา  เราจะได้เข้าใจตนเองและเพื่อนมนุษย์ โดยการเรียนรู้พื้นเพและความเป็นมาในอดีต

           โอลิมปัส หรือนักรบยิ่งใหญ่ชาวสปาร์ตา อเล็กซานเดอร์มหาราช แม่ทัพผู้ยิ่งใหญ่  แล้วแก้ไขปัญหาเพื่อไม่ให้เกิดประวัติศาสตร์ซ�้ารอย และเพื่อเข้าใจเพื่อนมนุษย์
           จูเลียตซีซ่าและความยิ่งใหญ่ของอาณาจักรโรมัน                                                ด้วยกัน เรียนรู้กันและกันจนถึงก้นบึ้ง เพื่อจะสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้
                  จากนั้น เริ่มเข้าสู่ยุคกลาง โดยหลังจากที่มนุษย์มีพัฒนาการเจริญก้าวหน้า  อย่างปกติสุข
           มาเรื่อยๆในยุคกลางตอนต้นหรือเรียกว่า ยุคมืด มีชนกลุ่มหนึ่งจากทางตอนเหนือ     ท้ายนี้ อาจารย์ปฐม ฝากช่องทางการติดต่อผู้สอนหากนักศึกษา

           “พวกอนารยชน” เข้ามาท�าลายอารยธรรมเพื่อต้องการท�าให้กลับสู่สภาพเดิม   มีปัญหาเกี่ยวกับการเรียน โดยสามารถติดต่อได้ที่ ที่ท�าการภาควิชาประวัติศาสตร์
           ในยุคนี้จึงมีจุดเปลี่ยนของสังคมและอารยธรรมอีกครั้งหนึ่ง ก่อนจะเข้าสู่ยุคกลาง  อาคาร 2 ชั้น 4 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง หรือทางเฟซบุ๊ก
           อันรุ่งเรือง เราจะคุ้นเคยว่ายุคอัศวิน                          (อ่านต่อหน้า11)  ของภาควิชา HI_Hu.RU
   1   2   3   4   5   6   7   8