Page 7 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 27 วันที่ 15 - 21 ตุลาคม 2561
P. 7

วันที่ ๑๕ - ๒๑ ตุลาคม ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                              ๗




                 นศ.จิตวิทยาคลินิกเตือนการอดหารเพื่อสวย หล่อ

                        น�าไปสู่โรค Anorexia Nervosa




                  สาขาวิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง โดยนักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยา
          คลินิกและชุมชน กระบวนวิชาสุขภาพจิตชุมชน (PSY3307) จัดโครงการสัมมนา เรื่อง “สวย หล่อ
          อย่างปลอดภัย ห่างไกลจากโรค Anorexia Nervosa และ Bulimai Nervosa” โดยมี อาจารย์

          ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง อาจารย์ประจ�าภาควิชาจิตวิทยา เป็นประธานเปิดงาน และมีนางสาวภิญญดา มัญยานนท์
                                                                                                             คณะเจ้าหน้าที่ ม.ร.สาขาวิทยบริการฯจังหวัดตรัง
          ประธานโครงการสัมมนาและกล่าวรายงาน  มีนางสาวณิญาพรรค์ภักดิ์ ภุมรินทร์ และนางสาวอริสรา         ร่วมวางพวงมาลาถวายราชสักการะ  พระราชานุสาวรีย์
          ขันทองดี ตัวแทนนักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน เป็นวิทยากร เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2561   สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม  พระบรม
          ณ ห้อง601 อาคารนครชุม                                                                      ราชชนก  เนื่องในโอกาสวันมหิดล  อันเป็นวันคล้าย

                                                     โอกาสนี้ อาจารย์ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง กล่าวว่า วัยรุ่นเป็นวัย วันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช
                                              ที่ให้ความส�าคัญกับรูปลักษณ์ภายนอก แต่กลุ่มวัยรุ่นที่เป็น วิกรม เพื่อน้อมร�าลึกในพระมหากรุณาธิคุณ  ที่ทรง

                                              โรค Anorexia Nervosa จะมีความสนใจที่รุนแรง จนถึงขั้นท�าร้าย  ประกอบพระราชกรณียกิจอันเป็นคุณประโยชน์แก่
                                              ชีวิตของตัวเอง เช่นการอดอาหาร ก�าจัดอาหารด้วยวิธีต่าง ๆ   ประเทศชาตินานัปการ  เมื่อวันจันทร์ที่  24 กันยายน
                                              เพื่อให้ภาพลักษณ์ของตัวเองดูดี โดยไม่นึกถึงสุขภาพที่ย�่าแย่ใน  2561 ณ  ลานพระราชานุสาวรีย์ฯ มหาวิทยาลัย
                                                                                                     สงขลานครินทร์  วิทยาเขตตรัง
                                              ระยะยาว จึงเป็นสิ่งที่ดีมากที่นักศึกษาเลือกประเด็นนี้ขึ้นมา
                                              จัดโครงการ แสดงว่าเราใส่ใจในสุขภาพลึกถึงจิตใจ โรค

          Anorexia Nervosa เป็นโรคทางจิตเวช หลายคนไม่รู้ตัวว่าเป็นอยู่ เพราะเป็นความพอใจที่จะเป็น อย่างน้อย
          การเข้าร่วมโครงการนี้ คงจะตระหนักมองตัวเอง คนรอบข้าง ว่ามีใครเข้าข่ายจะเป็นโรคนี้หรือเปล่า
          และจะน�าไปสู่การดูแลช่วยเหลืออย่างเหมาะสม

                  นางสาวภิญญดา มัญยานนท์ ประธานโครงการ กล่าวว่า โรค
          Anorexia Nervosa และ Bulimai Nervosa มีความสัมพันธ์กับปัญหา
          สุขภาพมากมาย ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ว่าจะเป็นภาวะขาดสารอาหาร
          การเจริญเติบโต ภาวะอ่อนเพลีย วิตกกังวล ซึมเศร้า ท�าร้ายตัวเอง รวม                                  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง สาขาวิทยบริการ
          ไปถึงการฆ่าตัวตาย ผู้จัดท�าโครงการได้ตระหนักถึงความส�าคัญของผลกระทบ                        เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสุรินทร์ ร่วมประกอบรัฐพิธี

          จากปัญหาดังกล่าว การจัดสัมมนาในครั้งนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อสร้างความเข้าใจ                     วันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
          รวมถึงการป้องกันและแก้ไขปัญหาไม่ให้ทวีความรุนแรงมากขึ้น                                    เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4  เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561
                                           ด้านวิทยากร นางสาวณิญาพรรค์ภักดิ์ ภุมรินทร์ ให้ความรู้เรื่องนี้ว่า   เพื่อน้อมร�าลึกพระมหากรุณาธิคุณ และพระปรีชาญาณ

                                   โรค Anorexia Nervosa และ Bulimai Nervosa เป็นโรคเรื้อรังที่พบบ่อย  อันเป็นเลิศของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
                                                                                                     ณ หอประชุมจังหวัดสุรินทร์
                                   เป็นอันดับ 3 ในวัยรุ่น โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเริ่มมีอาการตั้งแต่ช่วงวัยรุ่น
                                   ตอนกลาง และประมาณร้อยละ 5 พบว่า เริ่มมีอาการในช่วง 20 ปี ขึ้นไป
                                   ผู้ป่วยเสี่ยงต่ออัตราความพิการและอัตราการตาย ซึ่งในปี พ.ศ.2549 พบอัตรา
                                   การตายของโรคนี้ประมาณร้อยละ 0.3-0.9 ในปี พ.ศ.2554 ผู้ป่วย 1 ใน 5

                                   เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย และมีแนวโน้มขึ้นเรื่อย ๆ ในปัจจุบัน พร้อมยกตัวอย่าง
                                   ข่าวการฆ่าตัวตายขึ้นมาให้เห็นภาพที่ชัดเจน มีทั้งการฆ่าตัวตายเพราะ
                                   โดนเพื่อนล้อ และอาการป่วยจากจิตตนเอง
                  ผู้ป่วยโรค Anorexia Nervosa จะมีอาการกลัวความอ้วนมาก มีการจ�ากัดพลังงานอาหารที่รับประทาน
          อย่างไม่เหมาะสม จนมีน�้าหนักตัวต�่ากว่าเกณฑ์ มีความกลัวความอ้วนหรือกลัวน�้าหนักขึ้น มีพฤติกรรม         รองศาสตราจารย์ ดร.สมพล ทุ่งหว้า รองอธิการบดี

          ขัดขวางไม่ให้น�้าหนักขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้น�้าหนักตัวจะน้อยมากก็ตาม ส่วนผู้ป่วยโรค Bulimai Nervosa  ฝ่ายวิทยบริการจังหวัดสงขลา พร้อมด้วยบุคลากร
          จะรับประทานอาหารมากกว่าปกติ และจะใช้วิธีที่ไม่เหมาะสมเพื่อไม่ให้น�้าหนักตัวเพิ่ม ผู้ป่วยใช้วิธีอาเจียน  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
          ใช้ยาระบายหรือยาขับปัสสาวะ รวมถึงการอดอาหารหรือออกก�าลังกายอย่างหนัก เพื่อไม่ให้น�้าหนักตัวเพิ่ม  จังหวัดสงขลา น�าบุคลากรศึกษาดูงาน “สงขลาสู่เมือง
                  นางสาวอริสรา ขันทองดี ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและรักษา                         มรดกโลก” เมื่อวันที่ 2 ตุลาคมที่ผ่านมา ณ โรงสีแดง
          อาการไว้ว่า การรักษาต้องเริ่มที่จิตใจ เป็นจิตบ�าบัดรายบุคคลและจิตบ�าบัด                     โดยมี อ.เยาวลักษณ์ ประโมจนีย์ เป็นผู้ประสานงานการ

          ครอบครัว จนเกิดพฤติกรรมบ�าบัด โดยเสริมแรงจูงใจอย่างต่อเนื่อง อาจให้                         ศึกษาดูงาน และมี อ.สืบสกุล ศรีสุข วิทยากร จากสมาคม
                                                                                                      ภาคีคนรักสงขลา บรรยายถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
          ค�าชมเชย การออกก�าลังกายอย่างจ�ากัดและให้รางวัล ในระยะที่ผู้ป่วย                            สงขลา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นเมืองสองทะเล จากอดีตถึงปัจจุบัน
          รับประทานอาหารได้และมีน�้าหนักเพิ่มขึ้น สนับสนุนผู้ป่วยด้วยค�าชม                            และได้อธิบายถึงเอกลักษณ์ความโดดเด่นในแง่ประวัติศาสตร์

          และพฤติกรรมด้านบวก ผลลัพธ์ที่ได้ ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ดีขึ้น มีความเข้าใจ                       และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการอาศัยอยู่ร่วมกันของ 3 ศาสนา
          และกระบวนการคิดที่ดี เปลี่ยนความคิดเดิม ๆ เปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม                      คือ ศาสนาพุทธ จีนและมุสลิม ที่สะท้อนออกมาในรูปแบบ
          แทนที่ด้วยความคิดและพฤติกรรมเชิงบวก กระทั่งทานอาหารได้ปกติ                                  ของสถาปัตยกรรมโบราณ ทั้งอาคารแบบเรือนแถวทรงไทย
          มีน�้าหนักตามเกณฑ์ และสุขภาพดี                                                              เรือนแถวแบบจีน เรือนแถวแบบชิโน-โปรตุกีส ตลอดจน
                  อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยอาจมีอาการกลับมาท�าซ�้า การอดอาหารอย่างหนักและกลับมาทานอีกรอบ   ได้เยี่ยมชมมัสยิดอุสาสนอิสลาม (มัสยิดบ้านบน)

          จะท�าลายความยับยั้งชั่งใจ น�าไปสู่การ binge eating เกิดการกังวลในน�้าหนักและรูปร่างและอยากก�าจัด  ศาลเจ้าหลักเมืองและวัดมัชฌิมาวาส ที่ตั้งอยู่ในย่าน
                                                                                                      เมืองเก่า ซึ่งสามารถด�าเนินชีวิตอยู่ร่วมกันได้ในรูปแบบ
          ออกไป จึงจ�าเป็นต้องดูแลและให้ความส�าคัญเป็นระยะยาวอย่างใกล้ชิด
                                                                                                      ของพหุวัฒนธรรม
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12