Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 27 วันที่ 15 - 21 ตุลาคม 2561
P. 6

๖                                                    ข่าวรามคำาแหง                              วันที่ ๑๕ - ๒๑ ตุลาคม ๒๕๖๑














              อาจารย์ภัทระ ลิมป์ศิระ                                                                                            คณะนิติศาสตร์
                           หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์โดยธรรมชาติ (ตอนแรก)




                   สืบเนื่องจากปี พ.ศ. 2561 เป็นปีที่ประเทศสหภาพเมียนมากับประเทศไทย    นอกจากนี้ เส้นเขตแดนประเทศไทย - สหภาพเมียนมา ควรเป็นเส้นเขต
           ฉลองครบรอบ 70 ปี ของการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน  แดนแห่งความร่วมมือ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการค้า การลงทุน และ
           ทั้งสองประเทศจึงส่งเสริมความร่วมมือและผลักดันการพัฒนาตามแนวชายแดน  การไปมาหาสู่ระหว่างของประชาชนทั้งสองประเทศ
           และความร่วมมือด้านความเชื่อมโยงอย่างไร้รอยต่อด้วยการเติมเต็มโครงสร้าง       2. ความร่วมมือส่งเสริมการค้าและการลงทุน ประเทศไทยจะส่งเสริม

           พื้นฐานและเส้นทางคมนาคมขนส่งที่ยังขาดหาย (Missing links) ตลอดจน ให้ภาคเอกชนประเทศไทยเข้าไปท�าธุรกิจในสหภาพเมียนมาอย่างมีความรับผิดชอบ
           การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลและการเชื่อมโยงโครงข่ายด้านพลังงาน  ต่อชุมชนท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อม และสหภาพเมียนมาก็พร้อมที่จะดูแลนักธุรกิจ
           เพื่อให้ความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์โดยธรรมชาติ (Natural Strategic Partnership)  ประเทศไทยที่เข้าไปลงทุนในสหภาพเมียนมาให้ได้รับความสะดวกด้วยเช่นกัน
           นั้น ใกล้ชิดและตอบสนองผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่ายอย่างแท้จริง                  3. โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย เป็นโครงการที่จะสร้าง

                   ทั้งสหภาพเมียนมากับประเทศไทยจึงต่างมีการเย้าเยือนระหว่างเพื่อนบ้าน ความเชื่อมโยงระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งทั้งสองประเทศ
           แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกันที่ใกล้ชิดและความส�าคัญที่ให้แก่กัน ต่างเห็นพ้องให้หน่วยงานของทั้งสองฝ่ายหารือและขับเคลื่อนโครงการฯอย่างใกล้ชิด
           และกัน                                                              เพื่อผลประโยชน์ของสหภาพเมียนมา ประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียโดยรวม
                   ประธานาธิบดีอูวินมยิน                                               4. การคุ้มครองแรงงานสหภาพเมียนมาในประเทศไทย ซึ่งแรงงาน
           (H.E. U Win Myint) แห่งสาธารณรัฐ                                    สหภาพเมียนมาเป็นหัวใจส�าคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย โดย

           แห่งสหภาพเมียนมา ได้เดินทางเยือน                                    ประเทศไทยจะให้การคุ้มครองดูแลแรงงานสหภาพเมียนมาตามกฎหมาย
           ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ และ                                        ประเทศไทย และจะส่งเสริมให้แรงงานสหภาพเมียนมาเข้ามาท�างานในประเทศไทย
           เข้าร่วมการประชุมสุดยอดผู้น�า                                       ผ่านความตกลงว่าด้วยการจ้างงานในกรอบรัฐต่อรัฐ และสหภาพเมียนมา
           ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ                                    ที่ร่วมมือกับประเทศไทยอย่างใกล้ชิดจนกระบวนการพิสูจน์สัญชาติแรงงาน

           อิรวดี -เจ้าพระยา- แม่โขง (Ayeyawady-                               สหภาพเมียนมาใกล้แล้วเสร็จและเป็นไปตามก�าหนด ถือเป็นความส�าเร็จร่วมกัน
           Chao Phraya - Mekong Economic CooperationStrategy: ACMECS)  ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพเมียนมาอันเกิดจากความมุ่งมั่นและความ
           ครั้งที่ 8 ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดขึ้น การเยือนประเทศไทยครั้งนี้ จึงถือ ร่วมมือระหว่างสองประเทศอย่างแท้จริง
           เป็นสัญลักษณ์ที่ส�าคัญในการร่วมฉลองความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ และ         5. สถานการณ์ในรัฐยะไข่ ฝ่ายประเทศไทยได้ให้ก�าลังใจและสนับสนุน
           เป็นโอกาสอันดีที่ทั้งสองฝ่ายติดตามความก้าวหน้าของความร่วมมือ และพัฒนา ความพยายามของสหภาพเมียนมาในการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะ

           ความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์โดยธรรมชาติ ให้ใกล้ชิดและตอบสนองผลประโยชน์ สหภาพเมียนมาได้เปิดรับความร่วมมือจากสหประชาชาติมากขึ้นและจัดตั้ง
           ของทั้งสองฝ่ายอย่างแท้จริง                                          คณะกรรมการอิสระเพื่อตรวจสอบสถานการณ์ในรัฐยะไข่ด้วย นอกจากนี้
                   การเยือนประเทศไทยของประธานาธิบดีสหภาพเมียนมาครั้งนี้มีความ ประเทศไทยได้ยืนยันความพร้อมที่จะเข้าไปด�าเนินโครงการเพื่อการพัฒนา
           พิเศษเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่ประธานาธิบดี ต่าง ๆ ในรัฐยะไข่ เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่ด�ารงชีพได้อย่างยั่งยืน

           สหภาพเมียนมาเยือนอย่างเป็นทางการหลังจากด�ารงต�าแหน่งประธานาธิบดี            6. การส่งผู้หนีภัยการสู้รบกลับสหภาพเมียนมา ประเทศไทยและ
           การเยือนครั้งนี้จึงมีความหมายเป็นพิเศษและเป็นสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ สหภาพเมียนมาได้ร่วมกันสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ในการส่งผู้หนีภัยการ
           หุ้นส่วนยุทธศาสตร์โดยธรรมชาติที่แน่นแฟ้นของประเทศไทยและสหภาพเมียนมา สู้รบกลับมาตุภูมิ ซึ่งได้ด�าเนินการอย่างเป็นทางการมาแล้ว 2 ครั้ง ส่งกลับ
           และน�าไปสู่ความร่วมมือระหว่างสองประเทศในหลายสาขาที่ส�าคัญ และน�ามา รวม 164 คน และจะร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดเพื่อให้การส่งกลับกลุ่มต่อ ๆ ไป
           ซึ่งประโยชน์ร่วมกัน ได้แก่                                          มีประสิทธิภาพและเป็นระบบมากยิ่งขึ้นบนพื้นฐานของความปลอดภัย

                   1. การพัฒนาตามแนวชายแดนและความร่วมมือด้านความเชื่อมโยง ความสมัครใจและมีศักดิ์ศรี
           ประเทศไทยและสหภาพเมียนมาเป็นเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิดจึงมีผลประโยชน์             7. ประเด็นด้านพหุภาคี แผนแม่บท ACMECS เป็นรากฐานความเชื่อมโยง
           เชื่อมโยงกันทุกด้าน ดังนั้น ผู้น�าประเทศไทยและสหภาพเมียนมาจึงเห็นพ้อง อย่างไร้รอยต่อของอนุภูมิภาคในอนาคต และสหภาพเมียนมายังได้แสดงความพร้อม
           ที่จะพัฒนาความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์โดยธรรมชาตินี้ให้ใกล้ชิดในทุกมิติ ที่จะสนับสนุนประเทศไทยในฐานะประธานอาเซียนในปีหน้า โดยเฉพาะการผลักดัน

           และหัวใจส�าคัญของความร่วมมือก็คือ การพัฒนาตามแนวชายแดนและความ ประเด็นเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืน การส่งเสริมความเชื่อมโยง และการพัฒนา
           ร่วมมือด้านความเชื่อมโยงอย่างไร้รอยต่อ (Seamless connectivity) ซึ่งจะก่อ ไปสู่ยุค 4.0 อีกด้วย
           ให้เกิดความเจริญตามแนวชายแดนของสองประเทศอย่างเป็นรูปธรรมและ                 สิ่งที่ผู้น�าของประเทศไทยและสหภาพเมียนมาได้หารือกัน
           ประชาชนจะเป็นผู้ได้ประโยชน์อย่างแท้จริง                             ทั้ง 7 ประเด็นที่กล่าวมาข้างต้นซึ่งครอบคลุมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
                    ส�าหรับการเชื่อมโยงกับสหภาพเมียนมาต้องเร่งรัดการพัฒนาอย่าง สังคม แรงงาน การเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่ง รวมทั้งความร่วมมือในกรอบ

           ครบวงจรในเส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East - West  พหุภาคีข้างต้นนั้น สะท้อนถึงความสัมพันธ์ฉันท์มิตรที่แนบแน่นระหว่าง
           Economic Corridor - EWEC) และแนวระเบียงเศรษฐกิจใต้ (Southern  “หุ้นส่วนยุทธศาสตร์โดยธรรมชาติ” ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพเมียนมา
           Economic Corridor) ตามแผนแม่บท (Master Plan) จากแผนยุทธศาสตร์  ที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ และบนพื้นฐานของความสัมพันธ์ที่แนบแน่นนี้ จะช่วย
           ACMECS หากพัฒนาได้ส�าเร็จ ก็จะก่อให้เกิดโอกาสทางธุรกิจ การค้าการลงทุน  ขับเคลื่อนความร่วมมือด้านต่าง ๆ ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพเมียนมา

           การท่องเที่ยวแก่ผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่ และ SMEs ของประเทศไทย       ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมในอนาคต เป็นการก้าวไปข้างหน้าร่วมกันของเพื่อนบ้าน
           และสหภาพเมียนมาอย่างมาก และนี่คือประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับอย่าง ที่ใกล้ชิด ซึ่งในท้ายที่สุดแล้ว ภาคเอกชนและประชาชนของทั้งสองประเทศ
           เป็นรูปธรรม                                                         จะเป็นผู้ได้รับประโยชน์โดยตรง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11