Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 24 วันที่ 24 - 30 กันยายน 2561
P. 6

๖                                                       ข่าวรามคำาแหง                            วันที่ ๒๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑




                                                                                                         พนักงานมหาวิทยาลัย



           อาจารย์ภัทระ  ลิมป์ศิระ                                                      คณะนิติศาสตร์ ประชุมเลือกบริษัทหลักทรัพย์ฯ

              ชัยชนะของอินโดนีเซียในเวทีคณะมนตรี



             ความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ





















                บทบาทและความน่าเชื่อถือของกลุ่มชาติสมาชิกอาเซียนในระดับนานาชาติ  ถูกทดสอบอีกครั้งกับการ

          ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้ดำารงตำาแหน่งสมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
          (United Nations Security Council: UNSC) ซึ่งในครั้งก่อนเมื่อ 2 ปีที่แล้ว ประเทศไทยในฐานะเป็นตัวแทน    คณะกรรมการกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ
          ของกลุ่มชาติสมาชิกอาเซียน และเป็นหนึ่งในสองประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ที่ลงรับเลือกตั้งประสบ  มหาวิทยาลัยรามคำาแหง จัดประชุมใหญ่วิสามัญ

          ความพ่ายแพ้ให้กับประเทศคาซัคสถาน                                                             เพื่อเลือกบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน
                ความพยายามของอาเซียนในการมีส่วนร่วมกับประชาคมโลกเป็นผลมาจากปฏิญญาบาหลีว่าด้วย          สำารองเลี้ยงชีพ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์วุฒิศักดิ์

          เรื่องประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก (Bali Declaration on ASEAN Community in a Global Community
          of Nation: Bali Concord III) ที่บรรดาผู้นำาอาเซียนได้ลงนาม เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ณ บาหลี  ลาภเจริญทรัพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำาแหง
          ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นเอกสารที่สะท้อนความพร้อมของอาเซียนในการสร้างวิสัยทัศน์หลังการสร้าง  เป็นประธาน มีอาจารย์ ดร.มนตรี กวีนัฏธยานนท์

          ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 (beyond 2015) ซึ่งจะดำาเนินการควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความเข้มแข็ง  รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร ประธานกรรมการ
          ของประชาคมอาเซียน รวมทั้งส่งเสริม และคงไว้ซึ่งความเป็นศูนย์กลางของอาเซียน และบทบาทในการส่งเสริม กองทุนสำารองเลี้ยงชีพฯ  และสมาชิกกองทุน
          สถาปัตยกรรมของภูมิภาค หนึ่งในแนวทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม คือ การที่ชาติสมาชิกอาเซียนสลับกัน สำารองเลี้ยงชีพ  ทั้งอาจารย์  เจ้าหน้าที่  ที่เป็น

          สมัครเข้าแข่งขันเลือกตั้งเป็นสมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ               พนักงานมหาวิทยาลัยงบประมาณแผ่นดินและ
                เนื่องจากคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินั้นถือว่าเป็น 1 ใน 5 เสาหลักของสหประชาชาติ   งบรายได้ เข้าร่วมประชุม เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2561
          มีหน้าที่โดยตรงเรื่องการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มีสมาชิก 2 ประเภท ได้แก่     ณ ห้องประชุม 321 ชั้น 3 อาคารสุโขทัย

                1.  สมาชิกถาวร 5 ประเทศได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร รัสเซีย จีน และฝรั่งเศส              โอกาสนี้ ผศ.วุฒิศักดิ์ อธิการบดี ม.ร.
                2.  สมาชิกไม่ถาวรอีก 10 ประเทศ ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประเทศสมาชิกสหประชาชาติทั้ง 193 ประเทศ

          มีวาระ 2 ปี แบ่งการคัดเลือกเป็นตัวแทนของแต่ละทวีป                                            กล่าวว่ากองทุนสำารองเลี้ยงชีพเป็นเรื่องที่
                โดยในปี  พ.ศ.  2561  ประเทศอินโดนีเซียประสบความสำาเร็จได้รับเลือกตั้งจากการชิงที่นั่งกับประเทศมัลดีฟส์  มหาวิทยาลัยต้องจัดการให้ดีที่สุด โดยมีคณะ-
          ในฐานะตัวแทนจากภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก จากการลงคะแนนลับ และเป็นครั้งที่ 4 แล้วที่อินโดนีเซียได้รับเลือก  กรรมการกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัย-

          เป็นสมาชิกไม่ถาวร โดยสามารถเอาชนะมัลดีฟส์ไปด้วยคะแนน 144 ต่อ 46 เสียง และได้รับเสียงสนับสนุน รามคำาแหง เป็นผู้ดำาเนินการ ขอฝากให้สมาชิก
          ให้เป็นสมาชิกไม่ถาวรพร้อมกับอีก 4 ประเทศ ประกอบด้วย เยอรมนี เบลเยียม แอฟริกาใต้ และโดมินิกัน   กองทุนฯ ทำาความเข้าใจกับรายละเอียดที่แต่ละบริษัท

          โดยสำาหรับทั้ง 5 ประเทศจะอยู่ในวาระตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562 ไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563  มานำาเสนอให้ชัดเจนก่อนที่จะใช้สิทธิ์เลือกบริษัท
                ประเด็นที่น่าคิด คือ ในการลงแข่งขันของประเทศไทยเมื่อ 2 ปีก่อน ในเวทีระหว่างประเทศกลับขาด  นั้นมาบริหารจัดการกองทุนของพนักงาน และ
          การสนับสนุนจากชาติมหาอำานาจอย่างประเทศรัสเซียและประเทศจีนที่ต่างให้การสนับสนุนประเทศคาซัคสถาน   ขอเป็นกำาลังให้ทั้งคณะกรรมการฯ และสมาชิก

          ทำาให้หลายประเทศต่างเทคะแนนสนับสนุนประเทศคาซัคสถาน จนทำาให้คาซัคสถานได้รับการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก
                ในชาติสมาชิกอาเซียนนั้น นอกจากอินโดนีเซียจะประสบความสำาเร็จในปีนี้ ประเทศเพื่อนบ้านอย่าง  กองทุนฯในการดำาเนินการทุกเรื่องให้ประสบ-
          ประเทศมาเลเซียก็เคยได้รับการเลือกตั้งมาแล้วถึง 3 สมัยเช่นกัน ย่อมเป็นหลักฐานพิสูจน์ให้เห็นถึงสถานะ  ในช่วงวัยหลังเกษียณด้วย

          ทางการเมืองบนเวทีโลก  ซึ่งมีความแตกต่างจากประเทศไทยในอดีตที่เคยได้รับการเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกไม่ถาวร     ทั้งนี้ หลังจากประชุมรับฟังแผนการลงทุน
          ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพียงสมัยเดียวเท่านั้น โดยต้องย้อนกลับไปในช่วงปี พ.ศ. 2528-2529  ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ
          ซึ่งในสมัยของรัฐบาลพล.อ.เปรม ติณสูลานนท์                                                     จำานวน 11 แห่ง เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2561 และ

                ภาพความสำาเร็จของประเทศอินโดนีเซียจึงสะท้อนให้เห็นถึงความพ่ายแพ้การเลือกตั้งในเวทีสหประชาชาติ  การประชุมใหญ่วิสามัญเสร็จเรียบร้อยแล้วนั้น
          ของประเทศไทย ที่แสดงให้เห็นว่าประเทศมหาอำานาจอย่างประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป   ยังให้สมาชิกได้ใช้สิทธิ์ลงคะแนนเลือกบริษัท

          หรือแม้แต่ชาติที่ไทยมองว่าเป็นมหามิตรในยามไร้ประชาธิปไตยอย่างประเทศจีนและประเทศรัสเซีย ยังไม่ได้   หลักทรัพย์จัดการกองทุนสำารองเลี้ยงชีพ
          ให้การสนับสนุนไทยในเวทีการเมืองระหว่างประเทศที่สำาคัญเช่นนี้เลย และกลายเป็นสิ่งที่ตอกยำ้าถึงเสถียรภาพ
          ทางการเมืองและความน่าเชื่อถือของประเทศไทยบนเวทีโลก ว่าได้รับการยอมรับมากน้อยแค่ไหน           ณ ห้องประชุม 322 ชั้น 3 อาคารสุโขทัยด้วย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11