Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 24 วันที่ 24 - 30 กันยายน 2561
P. 3

วันที่ ๒๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓













                             วิชาสถิติเบื้องต้น (STA1003)


                 วิชาคำานวณง่ายๆ ที่สามารถคว้า A ได้ไม่ยาก


                วิชาที่มีการคำานวณ เป็นวิชาที่นักศึกษาหลายต่อหลายคนกลัวไม่อยากเรียน และบอกต่อๆกันมา          คงไม่เป็นอะไรใช่หรือไม่ ถ้า “ข่าวรามคำาแหง”

          รุ่นสู่รุ่นว่ายาก..ยากมาก  ถึงยากที่สุด  แต่หากเราก้าวข้ามผ่านความกลัวมาได้วิชาที่ต้องคำานวณหรือ  จะชวนผู้อ่านดูโขนกัน
          สถิติ ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด                                                                       “โขน” เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทย

                ‘ข่าวรามค�าแหง’ ฉบับนี้ขอกล่าวถึง วิชาสถิติเบื้องต้น (STA1003) ที่ได้รับคำายืนยันจากอาจารย์
          ผู้สอนมาแล้วว่า ‘เป็นเพียงวิชาที่กล่าวถึงเครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล แบบพื้นๆ เท่านั้นเอง ไม่ยาก   มีความสง่างาม อลังการ

          ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด แถมยังนำาไปใช้ได้กับหลายๆ ศาสตร์ หลายๆคณะ ขอเพียงทำาความเข้าใจ คิดตาม        ประกอบด้วยท่าร่ายรำาอันอ่อนช้อย
          และลงมือทำา ก็สามารถผ่านและคว้าเกรด A ไปได้อย่างง่ายดาย’                                      โดยการนำาศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์

                สำาหรับวิชาสถิติเบื้องต้น (STA1003) มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบในการสอน 2 ท่าน ประกอบด้วย
          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรไท  ชั้วเจริญ และอาจารย์พรรณนา  เอี่ยมสุวรรณ์ อาจารย์ประจำาภาควิชาสถิติ   และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง

          คณะวิทยาศาสตร์                                                                                     ลักษณะสำาคัญที่เป็นเอกลักษณ์ของโขน
                ผศ.ดร.อรไท ชั้วเจริญ กล่าวว่าสถิติเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล              คือผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวม

          ซึ่งมีหลายตัวเพื่อความเหมาะสมกับข้อมูลและวัตถุประสงค์ โดยเบื้องต้นนักศึกษา                    ครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ
          ต้องทำาความรู้จักกับการคำานวณพื้นฐานที่เราเคยเจอกันตั้งแต่สมัยประถม เช่น

          บวก ลบ คูณ หาร เพื่อได้ผลสรุปข้อมูล และใช้วิเคราะห์ให้เกิดประโยชน์ต่อไป                            โขนมีความงดงามและเป็นศูนย์รวม
                สถิติ หมายถึงตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น                  ของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนง

          สถิติที่แสดงปริมาณนำ้าฝน  ปริมาณนำ้าในเขื่อน  เป็นต้น  หรืออาจจะหมายถึง                       เช่น  วรรณศิลป์  นาฏศิลป์  คีตศิลป์  และ
          กระบวนการในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลก็ได้ และอยากให้เข้าใจที่มาของตัวเลข เช่น

          การหาค่าเฉลี่ย คือ การเอาค่าของตัวเลขทุกตัวมาบวกกัน แล้วหารด้วยจำานวนตัวของเลข ค่ามัธยฐาน     หัตถศิลป์
          คือ  ค่าที่อยู่ตำาแหน่งตรงกลาง  ค่าฐานนิยม  คือ  สิ่งที่นิยม  เจอบ่อย  เป็นต้น  วิชาสถิติเล่มนี้มีตั้งแต่      อาจารย์ประสิทธิ์ ปิ่นแก้ว ครูและ ผู้เชี่ยวชาญ

          เรื่องของกระบวนการการเก็บรวบรวมข้อมูล  ซึ่งมีหลายวิธี  เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการใช้       เรื่องโขน เคยบอก “ข่าวรามคำาแหง” ว่า การแสดงโขน
          ข้อมูลแบบต่างๆ การวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การวิเคราะห์เชิงพรรณนา เป็นการวิเคราะห์

          ข้อมูลจากตัวอย่างที่มีอยู่ และการวิเคราะห์เชิงอนุมาน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวอย่างแล้วนำาไป  เป็นศิลปะที่ผู้ชมต้องมีความเข้าใจก่อน  จึง
          อธิบายสรุปถึงประชากร  โดยนำาทฤษฎีความน่าจะเป็นมาเป็นตัวเชื่อม  รวมถึงการนำาเสนอ  ซึ่งทำาได้   จะดูรู้เรื่อง หรือที่เรียกว่า “ดูโขนเป็น”

          หลายรูปแบบ เช่น กราฟ แผนภูมิ รวมทั้งการบอกเล่าประสบการณ์ด้วย                                       ทำาให้ “ข่าวรามคำาแหง”  คิดถึงผู้ก่อตั้ง
                “อยากให้นักศึกษามาเข้าเรียน  มาทำาความรู้จักกับวิชาสถิติจะได้รู้สึกสนุกกับสถิติไปด้วยกัน  และ   โขนในมหาวิทยาลัย ๒ คน คือ

          ไม่ต้องกลัวการคำานวณเพราะปัจจุบันมีเครื่องมือช่วยอำานวยความสะดวกในการคำานวณมากมาย แต่ถ้า
          ไม่เข้าใจว่าตัวเลขที่ออกมานั้นหมายถึงอะไร มาอย่างไร ก็ไม่มีประโยชน์ ซึ่งส่งผลให้ทำาข้อสอบไม่ได้ด้วย”     มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  มี  “โขน

                ผศ.ดร.อรไท  กล่าวต่อไปว่า  กระดาษและดินสอ  ถือเป็นอาวุธที่สำาคัญของการเรียนวิชาสถิติ    ธรรมศาสตร์”  โดยศาสตราจารย์พลตรี
          นอกจากนักศึกษาจะได้ใช้ในการคิดคำานวณตัวเลขแล้ว  ยังสามารถนำามาจดบันทึกเพื่อเตือนความจำาได้ด้วย   หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และ

          และอยากให้นักศึกษาให้เวลากับสถิติ ทบทวนและฝึกทำาแบบฝึกหัดเพียงวันละชั่วโมงทุกวันก็เพียงพอ
          ที่จะทำาให้สอบผ่านได้อย่างสบายๆ                                                                    มหาวิทยาลัยรามคำาแหง มี “โขนรามคำาแหง”

                              จากความก้าวลำ้าของเทคโนโลยีและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป  อาจารย์และทางหลักสูตรฯ    โดยรองศาสตราจารย์รังสรรค์ แสงสุข
                          ได้ปรับรูปแบบการสอนและการออกข้อสอบสำาหรับวิชา  STA1003  ใหม่  เพื่อให้เหมาะสม      ทั้ง ๒ ท่าน บอกว่า มีโขนขึ้นมาก็เพื่อ

                          กับการใช้งานและความรู้ของนักศึกษาทุกกลุ่มมากยิ่งขึ้น  รวมถึงต้องการเน้นในเรื่องคุณธรรม
                          ความถูกต้องในการวิเคราะห์และแปลผล  และไม่ต้องการให้เกิดการทุจริตขึ้นทั้งใน    ให้คนดูโขนเป็น เขาจะได้ดูกัน โขนก็จะยังอยู่

                          การสอบและในสังคม จึงอยากให้นักศึกษาลองมาเข้าเรียนดูอาจทำาให้หลายคนติดใจ            เป็นความคิดที่ประเสริฐ และเป็นส่วนหนึ่ง
          แล้วไม่อยากจะพลาดการเข้าเรียนวิชานี้อีกเลย นอกจากนี้ วิชา STA1003 ยังมี ไลน์กลุ่ม ให้นักศึกษา   ที่ทำาให้เรายังมีโขนดูกันอยู่จนถึงทุกวันนี้

          ได้แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน พร้อมทั้งการแนะนำาแนวการเรียน การทำาแบบฝึกหัด และตัวอย่างข้อสอบต่างๆ
          อีกมากมาย ซึ่งสามารถสแกนคิวอาร์โค้ดได้ตามนี้ ....                                              เปลวเทียนให้แสง รามคำาแหงให้ทาง

                ท้ายนี้ มาถึงแนวข้อสอบในภาค 1/2561 กันบ้าง คาดว่าจะเป็นประโยชน์กับนักศึกษาหลายคน
          กันค่ะ                                                                       (อ่านต่อหน้า 9)
   1   2   3   4   5   6   7   8