Page 10 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 24 วันที่ 24 - 30 กันยายน 2561
P. 10

๑๐                                                      ข่าวรามคำาแหง                            วันที่ ๒๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑




           ม.ร.จัดประชุมวิชาการฯ        (ต่อจากหน้า 1)
                                                          MOU สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่จังหวัดแพร่





                                                              นายพงศ์รัตน์ ภิรมย์รัตน์
                                                        ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่เป็น
                                                        ประธานและสักขีพยานในการ

                                                        จัดทำากิจกรรมลงนามบันทึก

                                                        ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ
          “ผู้หญิงในอาเซียน”  ที่จัดฉายภาพยนตร์อาเซียน  กับสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่

          ที่ได้รับรางวัลระดับโลก ซึ่งเป็นประเด็นร่วมสมัย   จังหวัดแพร่ กิจกรรมการพัฒนา-
          ที่น่าสนใจและมีการนำาเสนอในหลากหลายมุมมอง     ศักยภาพนักจัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561 ณ โรงแรมแพร่นครา
          ตั้งแต่ภาพยนตร์ระดับโลกจนถึงภาพยนตร์ใน        อำาเภอเมืองแพร่ ซึ่งวิทยาลัยชุมชนแพร่จัดขึ้น โดยร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่จังหวัดแพร่

          ภูมิภาคอาเซียน ดังนั้น เวทีนี้จึงเป็นเวทีแลกเปลี่ยน  ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยรามคำาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดแพร่ มหาวิทยาลัย
          ความคิดเห็นระหว่างนักวิชาการด้านภาพยนตร์      แม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ วิทยาลัยพยาบาล
          นักสื่อสารมวลชน  อาจารย์  และนักศึกษา  ซึ่งจะได้   บรมราชชนนีแพร่ ศูนย์วิทยบริการจังหวัดแพร่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ และวิทยาลัยชุมชนแพร่

          นำาแนวคิดที่ได้จากการนำาเสนอผลงานไปพัฒนางาน   เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ  การทำางานระหว่างเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา
          ด้านวิชาการซึ่งเป็นประโยชน์กับแวดวงภาพยนตร์   ให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัดแพร่ โดยมี ผศ.พรชัย จิตต์พานิชย์ รองอธิการบดีฝ่ายวิทยบริการ

          ของประเทศต่อไป                                จังหวัดแพร่ เป็นผู้ลงนามในนามสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดแพร่
                  ด้าน ผศ.วุฒิศักดิ์ อธิการบดี ม.ร. กล่าวว่า
          การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้ส่งเสริม

          ความสัมพันธ์ระหว่างกัน 3 เสาหลัก คือ ประชาคม    นักศึกษ�ปริญญ�โท ส�ข�วิช�ชีววิทย� ร่วมฝึกอบรมด้�นนิเวศวิทย�ท�งทะเล
          การเมืองความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคม   Marine Ecology Summer Field Course 2018

          สังคมและวัฒนธรรม  ซึ่งรวมตัวกันมายาวนานกว่า  30  ปี
          แต่ยังมีอุปสรรคในหลายเรื่อง  โดยเฉพาะอุปสรรค-       นางสาววิภาวรรณ อุ่นคงทอง และนางสาวศิริลักษณ์
          เชิงวัฒนธรรม ฉะนั้น ประเด็น “ผู้หญิงในอาเซียน”   รองประโคน นักศึกษาปริญญาโทจากกลุ่มวิจัยความ

          จะตอบโจทย์ถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สังคม   หลากหลายทางชีวภาพในทะเล ภาควิชาชีววิทยา
          และอัตลักษณ์อีกมากให้ศึกษาเรียนรู้ รวมถึงการ  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง เป็นผู้แทน
          ปรับเปลี่ยนทัศนคติเดิมที่มีต่อผู้หญิง ความเหมือน  ประเทศไทยเข้าร่วมการฝึกอบรมโครงการศึกษา

          และความแตกต่างในแต่ละประเทศที่น่าสนใจ         ภาคสนามฤดูร้อนด้านนิเวศวิทยาทางทะเล (Marine
          การจัดงานครั้งนี้จะทำาให้ผู้เข้าร่วมงานได้เห็นมุมมอง  Ecology Summer Field Course 2018) ซึ่งดำาเนินการ
          ที่หลากหลายจากวิทยากรที่ศึกษาเรื่องนี้โดยตรง   โดยศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางทะเลอะมากุสะ (Amakusa Marine Biological Laboratory, AMBL)

          ถือว่าเป็นประโยชน์และมหาวิทยาลัยยินดีให้การ   ของมหาวิทยาลัยคิวชู (Kyushu University) ร่วมกับสมาคมเพื่อการศึกษาระบบนิเวศชายฝั่งเอเชีย-แปซิฟิก
          สนับสนุนการจัดกิจกรรมเช่นนี้เป็นอย่างยิ่ง     (Society  for  Coastal  Ecosystems  Studies-Asia  Pacific,  SCESAP)  เมื่อวันที่  24  สิงหาคม-4

                ทั้งนี้  การจัดเทศกาลภาพยนตร์อาเซียนและ  กันยายน 2561 เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ในเอเชีย-แปซิฟิก  การปฏิบัติงาน
          ประชุมวิชาการภาพยนตร์อาเซียนศึกษา “RAFF 2018 ”   ในภาคสนามมุ่งเน้นที่ระบบนิเวศชายฝั่ง  เช่น  หาดหิน  หาดทราย  พฤติกรรมของสัตว์ทะเล  และ
          มีผู้แทนจาก  6  ประเทศในอาเซียน  คือ  กัมพูชา  อินโดนีเซีย   การทำางานในห้องปฏิบัติการ  รวมทั้งการออกแบบงานวิจัยการวิเคราะห์ข้อมูล  และการอภิปรายร่วมกัน

          มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ลาว และไทย มานำาเสนอภาพยนตร์   ในกลุ่มนักศึกษาเพื่อการนำาเสนอหัวข้อวิจัยที่น่าสนใจ การอบรมในครั้งนี้ทำาให้นักศึกษาได้รับ
          และการมอบรางวัล  “RAFF  2018  Professional    ประสบการณ์ และฝึกการทำางานวิจัยในระบบของนักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่น แลกเปลี่ยนแนวคิด

          Achievement Award”    แด่ คุณพิมพกา  โตวิระ   ผู้กำากับ   กับนักศึกษานานาชาติ และได้คำาแนะนำาจากนักวิจัยชาวญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงระดับโลก เพื่อนำาความรู้
          ภาพยนตร์หญิงที่สร้างชื่อให้กับประเทศไทยและ    ที่ได้มาปรับปรุงการศึกษาวิจัยด้านชีววิทยาทางทะเลของประเทศไทย

          คว้ารางวัลมากมายจากเทศกาลหนังทั่วโลก จากภาพยนตร์เรื่อง “มหาสมุทรและสุสาน (THE IS LAND FUNERAL)”  ซึ่งจะเป็นภาพยนตร์ที่ฉายในพิธีเปิดงานในครั้งนี้ด้วย
                  จากนั้น  อธิการบดี  ม.ร.  ได้เซ็นชื่อบนแผ่นโปสเตอร์เทศกาลภาพยนตร์อาเซียนฯ  เป็นการเปิดงาน  ต่อด้วยการปาฐกถา  “บทบาทของผู้หญิงในภาพยนตร์
          อาเซียน” โดยอาจารย์อนุสรณ์  ติปยานนท์ นักวิชาการอิสระ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเขียนเรื่องสั้นและนวนิยายในต่างประเทศ และการนำาเสนอผลงานวิชาการ

                  สำาหรับการนำาเสนอผลงานวิชาการครั้งนี้ มีจำานวน 6 เรื่อง ประกอบด้วย 1)เรื่อง “อาเซียนส�าเนียงไทย” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ชูมงคล หัวหน้า
          สาขาวิชาสื่อสารการตลาดดิจิทัล วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 2)เรื่อง “เน็ตไอดอลกับมุมมองวัฒนธรรมศึกษา” โดย อาจารย์จารุวรรณ กิตตินรากรณ์
          อาจารย์ประจำาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 3)เรื่อง “ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยต่อการเป็นผู้นำาในภูมิภาค

          อาเซียน” โดยอาจารย์อภิสิทธิ์ ศุภกิจเจริญ อาจารย์ประจำาคณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำาแหง 4)เรื่อง “สตรีบนวิถีแผ่นฟิล์ม : การศึกษาผู้หญิงในภาพยนตร์ไทย
          ตั้งแต่ พ.ศ.2540-2560” โดย นายโชติอนันต์ เกษมวงศ์หงส์ นักเขียนบทภาพยนตร์และโทรทัศน์อิสระ อาจารย์พิเศษด้านภาพยนตร์ 5)เรื่อง “เปิดปูมหนังกลาง-

          แปลงไทย : บนเส้นทางจากอดีตสู่ยุคดิจิทัล” โดย นายพรพจน์ ยิ้มเจริญ นักศึกษาระดับปริญญญาตรี คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำาแหง และ 6)เรื่อง “การศึกษา
          การผลิตและเนื้อหาภาพยนตร์เรื่องลุงบุญมีระลึกชาติ ในฐานะกรณีศึกษาภาพยนตร์ที่ประสบความส�าเร็จในระดับนานาชาติ” โดย นายนิมิตร คินันติ บัณฑิตปริญญาโท
          คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำาแหง Freelance Flim Director
   5   6   7   8   9   10   11   12