Page 7 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 21 วันที่ 3 - 9 กันยายน 2561
P. 7

วันที่ ๓ - ๙ กันยายน ๒๕๖๑                               ข่าวรามคำาแหง                                                               ๗



              RU Know? (ledge) : 10 ทักษะจำ�เป็นที่บัณฑิต




           ม.ร�มคำ�แหง ต้องมีติดตัว แล้วจะไม่กลัวตกง�น


            อาจารย์ประหยัด เลวัน                                                                          ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์

                ยุคประเทศไทย 4.0 นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำาแหงที่กำาลังจะสำาเร็จ     ทักษะที่ 6. ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence)
          การศึกษาควรสำารวจและเสริมสร้างทักษะที่จำาเป็นที่ควรมี  สำาหรับเตรียมตัวเอง     หุ่นยนต์ทำางานหลายอย่างได้ดีก็จริง แต่ยังมีสิ่งที่หุ่นยนต์แพ้มนุษย์อยู่

          ให้พร้อมกับตลาดแรงงานยุคปัจจุบัน  เพราะในปี  พ.ศ.  2563  (ค.ศ.2020)   ก็คือ หุ่นยนต์ไม่มีอารมณ์ ไม่มีความรู้สึก ต่างจากมนุษย์ที่รู้จักเข้าอก เข้าใจผู้อื่น
          จะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในตลาดแรงงาน จะเริ่มมีหุ่นยนต์ (Robot)  และสามารถจัดการกับอารมณ์ของตัวเองได้ รู้ว่าควรทำาอะไร หรือไม่ควรทำาอะไร

          พร้อมกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligent) เข้าสู่ตลาดแรงงาน เพื่อส่งผลดีต่องานที่ทำาและคนรอบข้างที่ร่วมงานด้วย
          มากขึ้น  เพื่อมาทำางานแทนมนุษย์  แน่นอนว่าจะส่งผลให้อาชีพจำานวนมาก        ทักษะที่ 7. รู้จักประเมินผลและตัดสินใจได้ดี (Judgment and Decision Making)

          หายไปในอีกไม่ช้า ดังนั้นใครไม่อยากโดนหุ่นยนต์แย่งงาน สิ่งสำาคัญที่ต้องทำาก็คือ     การนำาข้อมูลที่มีอยู่อย่างมหาศาลมาประมวลผลและตัดสินใจได้อย่าง
          การพัฒนาทักษะแต่ละด้านของตัวเองให้ทันกับโลกที่เปลี่ยนไป โดยเวทีการประชุม ถูกต้องแม่นยำา เป็นทักษะที่ทุกองค์กรต้องการแทบทั้งนั้น เพราะแสดงให้เห็นว่า

          เวทีเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ได้เผย 10 ทักษะจำาเป็นที่โลก เรามีความสามารถในการเป็นผู้นำา สามารถพึ่งพาได้นั่นเอง
          ต้องการมากที่สุด ในปี ค.ศ. 2020 เพื่อให้ได้รีบปรับตัวกันตั้งแต่วันนี้ มาลองดูกันว่า    ทักษะที่ 8. มีใจรักบริการ (Service Orientation)

          ทักษะที่จำาเป็นกับตลาดแรงงานมีอะไรบ้าง                                    จะดีมากถ้าคุณเป็นคนที่คอยหาโอกาสช่วยเหลือผู้อื่นอยู่เสมอ ไม่ว่า
                                                                               จะเป็นลูกน้องในทีม หรือเพื่อนร่วมงานในหน่วยงาน เพราะสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่
                                                                               ส่งผลดีต่อการทำางาน แถมยังทำาให้บรรยากาศในการทำางานดีขึ้นอีกด้วย

                                                                                    ทักษะที่ 9. การเจรจาต่อรอง (Negotiation)

                                                                                    บุคคลที่มีความสามารถในการเจรจาต่อรองที่ดี ย่อมเป็นที่ต้องการ
                                                                               ของทุกหน่วยงานอยู่แล้ว  เพราะสามารถช่วยให้องค์กรได้รับประโยชน์จาก
                                                                               การเจรจาเรื่องต่าง ๆ ที่สำาคัญคือยังนำาทักษะนี้มาแก้ปัญหาความขัดแย้ง
                   รูปที่ 1 เปรียบเทียบ 10 ทักษะสำ�คัญในตล�ดแรงง�นปี ค.ศ. 2015 กับปี ค.ศ.2020
            (แหล่งที่ม�: https://www.google.co.th/ คำ�ค้นที่ใช้ : 10 ทักษะที่จำ�เป็นสำ�หรับตล�ดแรงง�น 2561)  เรื่องการทำางานภายในองค์กรได้อีก
                ทักษะที่ 1. การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน (Complex Problem Solving)         ทักษะที่ 10. ความยืดหยุ่นทางความคิด (Cognitive Flexibility)

                         เทคโนโลยีช่วยชีวิตให้ง่ายขึ้นก็จริง แต่ก็ตามมาด้วยระบบการทำางาน    การมีไหวพริบที่ดีและการปรับตัวตามสถานการณ์เป็นสิ่งที่ทุกคนควรมี
          ที่ซับซ้อนขึ้น เพราะฉะนั้น คงไม่มีประโยชน์แน่ ถ้าเรามีเพียงเทคโนโลยีที่ดี  เพราะการทำางานจริง ๆ เราต้องพบปะกับผู้คนที่หลากหลาย ดังนั้น การรู้จัก

          แต่ไม่มีคนคอยควบคุมและวิเคราะห์ระบบเหล่านี้  ซึ่งก็มีข้อมูลการันตีว่า  ปรับเปลี่ยน รู้ว่าควรจะสื่อสารแบบไหนถึงจะเหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ
          ทักษะการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน มีความจำาเป็นกับการทำางานในอนาคต เพราะ  จึงเป็นเรื่องสำาคัญที่ขาดไม่ได้เลย

          ในอุตสาหกรรม  จำาเป็นต้องพึ่งคนที่มีความสามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อน          สถานการณ์ปัจจุบันของตลาดแรงงานในประเทศ
          มากกว่าร้อยละ 36 ของงานทั้งหมด                                            นพวรรณ จุลกนิษฐ กรรมการผู้จัดการ บริษัท จัดหางาน จ๊อบส์ ดีบี

                ทักษะที่ 2. การคิดวิเคราะห์แยกแยะ (Critical Thinking)          ประเทศไทย  กล่าวว่าสายงานหรือกลุ่มอาชีพที่มีแนวโน้มจะถูกแทนที่ด้วยเทคโนโลยี
                เมื่อใช้หุ่นยนต์ทำางานมากขึ้น  เราก็ยิ่งต้องการคนที่มีตรรกะและเหตุผลที่ดี  และระบบเอไอ ได้แก่ พนักงานขายปลีกหน้าร้าน ในห้างโมเดิร์นเทรดต่างๆ

          เพิ่มขึ้น โดยจะต้องเป็นคนที่ประเมินศักยภาพของเทคโนโลยีได้ เพื่อรีดความสามารถ และพนักงานขายตรง พนักงานโรงแรม พนักงานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงิน
          ที่มีอยู่ออกมาใช้ได้มากที่สุด ซึ่งถ้าทำาได้ คุณจะกลายเป็นคนที่มีประโยชน์ แรงงานในอุตสาหกรรม  แรงงานในภาคโลจิสติกส์  คนขับรถยนต์  รถบรรทุก

          ต่อองค์กรอย่างมาก                                                    รวมถึงเคาน์เตอร์เซอร์วิสในภาคธุรกิจต่างๆ ซึ่งสวนทางกับโอกาสของผู้หางาน
                ทักษะที่ 3. การคิดอย่างสร้างสรรค์ (Creativity)                 ในสายงานที่กำาลังเป็นที่ต้องการอย่างมาก  ที่เกิดจากการเติบโตของเทคโนโลยี

                ความคิดสร้างสรรค์เป็นทักษะสำาคัญที่โลกต้องการไม่ว่าจะตอนนี้  และตามนโยบายของรัฐบาลสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ประกอบด้วย สายงานด้านดิจิทัล
          หรือในอนาคต  นั่นก็เพราะว่าเราสามารถนำาไอเดียดีเหล่านั้นไปต่อยอดกับ งานการจัดการข้อมูล เช่น นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ไอที ซึ่งจะเป็น
          เทคโนโลยี  เพื่อนำาไปใช้กับผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ที่กำาลังจะเกิดขึ้นได้นั่นเอง แรงจูงใจให้แรงงานในอนาคตจะต้องขวนขวายหาความรู้ เพิ่มพูนทักษะ

                ทักษะที่ 4. การบริหารทรัพยากรบุคคล (People Management)         และความชำานาญ เพื่อตอบสนองความต้องการแรงงานในตลาด

                ผู้ที่มีความสามารถในการกระตุ้นเพื่อนให้ทำางานร่วมกันเป็นทีม         สำาหรับทิศทางการปรับตัวของผู้หางาน  ประกอบด้วย  ทันโลกทันเหตุการณ์
          รวมถึงตัดสินใจได้ดีว่างานประเภทนี้  เหมาะกับคนแบบไหน  รู้จักเลือกใช้คน  อัพเดทข้อมูลข่าวสาร ทั้งเทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมืองและสังคม ทั้งใน
          ได้เหมาะสมกับงานมากที่สุด  เป็นทักษะที่จำาเป็นมากในหลากหลายอุตสาหกรรม  และต่างประเทศ เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขึ้น เพื่อให้เกิดความรู้รอบตัว

          เพราะจะทำาให้การทำางานเป็นไปอย่างราบรื่น บรรลุเป้าหมายโดยง่าย        และสามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในการทำางานได้อย่างเหมาะสม  ใช้เทคโนโลยี
                ทักษะที่ 5. การทำางานร่วมกับผู้อื่น (Coordinating with Others)  ให้เกิดประโยชน์ในการทำางานเพื่อให้มีความได้เปรียบทักษะด้านภาษา  โดย

                สำาหรับใครที่มีทักษะการเข้าสังคมที่ดี  แน่นอนว่าจะสามารถช่วยให้  ภาษาที่ 2 และภาษาที่ 3 กลายเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับคนทำางานที่ต้องการ
          การทำางานดีขึ้นไปอีก  เพราะการทำางานในชีวิตจริง  ไม่สามารถหลีกเลี่ยง ความก้าวหน้า โดยเฉพาะการทำางานร่วมกับองค์กรข้ามชาติ หรือองค์กรที่ต้อง

          การทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ ดังนั้น  หากเรามีปฏิสัมพันธ์ที่ดี  ก็จะช่วยให้  ติดต่อกับชาวต่างชาติอยู่เสมอ ซึ่งผลสำารวจของจ๊อบส์ ดีบี พบว่า นายจ้างกว่า 62%
          การทำางานราบรื่นขึ้นมาก                                              เห็นว่าการมีทักษะด้านภาษาและการสื่อสารที่ดี มีความสำาคัญมากที่สุด

                                                                                                                                     (อ่านต่อหน้า 9)
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12