Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 21 วันที่ 3 - 9 กันยายน 2561
P. 3

วันที่ ๓ - ๙ กันยายน ๒๕๖๑                               ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓



            อาจารย์กฎหมาย ม.รามคำาแหง ยกทีม



            แนะการเขียนตอบกฎหมายอัตนัย




                อาจารย์กฎหมาย  ม.รามคำาแหง  ยกทีมบรรยายแนะเทคนิคการเขียนตอบข้อสอบกฎหมายอัตนัย
          สำาหรับนักศึกษาคณะนิติศาสตร์  ในงาน “สัปดำห์รพี’61” เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2561  ณ ห้องประชุม 1303

          ชั้น 3 อาคาร 1 คณะนิติศาสตร์
                                     อาจารย์กุลธิตา  ยุวะหงษ์  หัวหน้าภาควิชากฎหมายมหาชน  เผยว่า

                               ข้อสอบกฎหมายอัตนัยแบ่งเป็น 3 รูปแบบ คือ ข้อสอบบรรยาย  ข้อสอบวินิจฉัย          ผู้อ่าน  “ข่ำวรำมค�ำแหง”  หลายคน
                               และข้อสอบบรรยายผสมวินิจฉัย  โดยลักษณะของข้อสอบบรรยาย  นักศึกษา           คงเป็นเช่นเดียวกับผู้เขียนที่เคยไปเที่ยว

                               จะต้องอธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจถึงสิ่งที่เราต้องการจะสื่อให้ได้  อาศัยการใช้ความคิด   สวนสัตว์ดุสิต เขาดินวนา หรือเขาดิน
                               และความรู้รอบตัวที่ค่อนข้างกว้าง  สำาหรับนักศึกษาปี 1-2 จะเจอข้อสอบ      กันมาแล้วคนละหลายๆ ครั้ง

                               รูปแบบบรรยายเป็นส่วนมาก  โดยเฉพาะในรูปแบบของกฎหมายพิเศษ  เช่น                 เนื่องเพราะเป็นสวนสัตว์และสวนสาธารณะ
                               พระราชบัญญัติ  กฎหมายที่ดิน  รวมถึงกฎหมายสี่มุมเมือง                     ที่ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร

                สำาหรับข้อสอบรูปแบบวินิจฉัยที่ต้องใช้หลักกฎหมายเป็นตัวอ้างอิง  ไม่จำาเป็นต้องจำาทุกตัวอักษร
          ของตัวบท  แต่ต้องเข้าใจและสามารถเขียนหลักใจความสำาคัญของข้อกฎหมายนั้นๆ ได้  และไม่ควร              และคงรู้สึกใจหายพอสมควรที่

          ใส่เกินความจำาเป็นในการวินิจฉัย  ส่วนการใช้ภาษาในการตอบข้อสอบกฎหมายซึ่งมีความเป็นทางการ       สวนสัตว์แห่งนี้ ซึ่งสร้างขึ้นมาตั้งแต่ปี
          ก็ต้องใช้ภาษากฎหมายในการตอบเพื่อความน่าเชื่อถือ  แต่ไม่จำาเป็นต้องทำาให้อลังการมากกว่าที่ควรจะเป็น   พุทธศักราช ๒๔๓๘ ได้ปิดลงแล้วในวันที่

          และตอบสรุปอย่างชัดเจน ตรงประเด็นคำาถามในโจทย์                                                 ๓๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
                “ขอเป็นก�ำลังใจให้นักศึกษำในกำรเรียนและสอบวิชำกฎหมำยทุกคน  ก่อนที่ครูจะมำเป็นอำจำรย์         “ข่าวรามคำาแหง” ขอใช้ข้อเขียนชิ้นนี้

          สอนกฎหมำย  ก็เคยผ่ำนช่วงเวลำกำรเป็นนักศึกษำมำก่อน  ต้องหมั่นฝึกฝนและเรียนรู้อยู่ตลอดเวลำ      เป็นการไว้อาลัยสวนสัตว์ดุสิต  เขาดินวนา
          โดยกำรฝึกฝนนี้เองที่จะท�ำให้เรำสมบูรณ์แบบมำกขึ้น”                                             หรือเขาดิน สุดแท้แต่ใครจะเรียกขาน

                                     อาจารย์โชติชวัล  โชติกเสถียร  อาจารย์ประจำาภาควิชากฎหมายพาณิชย์
                                กล่าวว่าระบบการเรียนการสอนที่คณะนิติศาสตร์  มหาวิทยาลัยรามคำาแหง             พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า-

                                ไม่มีการทำารายงานหรือพรีเซนต์ให้สะสมคะแนน  มีแต่ข้อสอบปลายภาค           เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
                                100 คะแนนเต็ม  ซึ่งนักศึกษาต้องปรับตัวให้ดีโดยเฉพาะการรับมือกับการ      โปรดกระหม่อมให้สร้าง “สวนดุสิต” หรือ

                                ตอบข้อสอบอัตนัยที่จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราอย่างปฏิเสธไม่ได้       “เขำดินวนำ” ในพื้นที่ราบ ด้วยการขุด
                                     “ก่อนเริ่มต้นท�ำข้อสอบ  นักศึกษำจะต้องอ่ำนโจทย์และจับประเด็นให้ดี   สระนำ้าใหญ่แล้วนำาดินขึ้นมาเป็นเนินเขา

                                ว่ำโจทย์ต้องกำรอะไร  หำกอ่ำนแล้วยังไม่เข้ำใจให้ข้ำมไปท�ำข้อต่อไปเพื่อไม่เสียเวลำ   เรียกว่า “เขำดิน”
          จำกนั้นให้วำงแผนกำรท�ำข้อสอบ  วำงหลักกฎหมำย  ปรับบทวินิจฉัยเข้ำกับข้อเท็จจริงที่โจทย์ก�ำหนดให้       บริเวณโดยรอบมีการปลูกพรรณไม้

          และสรุปค�ำตอบสั้นๆ  ตำมประเด็นที่โจทย์ถำม  โดยต้องใช้ภำษำกฎหมำยในกำรตอบเพื่อให้กำรเขียนตอบ
          ดูมีน�้ำหนัก มีหลักกำรและควำมน่ำเชื่อถือ                                                      นานาชนิด  สร้างขึ้นเป็นสวนพฤกษชาติ

                ส�ำหรับตัวบทกฎหมำยในประเทศไทยมีลักษณะเป็นลำยลักษณ์อักษร  ต้องน�ำถ้อยค�ำในตัวบทกฎหมำย    เรียกว่า “วนำ”
          มำปรับเข้ำกับข้อเท็จจริง  โดยทุกมำตรำมีคีย์เวิร์ดเป็นของตัวเอง  นักศึกษำต้องท�ำควำมเข้ำใจและ       เขาดินวนาเป็นส่วนหนึ่งในเขต

          ท่องให้เห็นภำพ  เมื่อถึงเวลำจะสำมำรถดึงออกมำใช้ได้ทันที”                                      พระราชฐานพระราชวังดุสิต
                อาจารย์ ดร.ฐากูร  ศิริยุทธ์วัฒนา  อาจารย์ประจำาภาควิชากฎหมายมหาชน กล่าวว่า                   มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเรื่อยมา

          กลุ่มวิชากฎหมายมหาชนจะมีความแตกต่างจากกฎหมายแพ่งและอาญาที่มี                                  จนเทศบาลนครกรุงเทพเปิดเป็นสวนดุสิต
          ที่ยึดเหนี่ยวทางใจคือหลักกฎหมาย  สามารถท่องแล้วไปสอบ  วินิจฉัยแล้วฟังธงได้

          แต่กฎหมายมหาชนมีทฤษฎีและหลักการในรูปแบบนามธรรม เช่นหลักการ                                         ให้ประชาชนเที่ยวชมและพักผ่อน
          แบ่งอำานาจ หลักการกระจายอำานาจ นิติรัฐ เป็นต้น  ดังนั้นข้อสอบจะทดสอบ                          หย่อนใจ

          ความเข้าใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักการและทฤษฎี  โดยมีที่ยึดเหนี่ยวทางใจ                              จนกระทั่ง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          เป็นเค้าโครงหรือหัวข้อและประเด็นสำาคัญต่างๆ ที่มีในหลักการหรือทฤษฎีนั้นๆ                      มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานที่ดิน

                ทั้งนี้ หลักการนามธรรมเป็น                                                              เป็นพื้นที่แห่งใหม่ของสวนสัตว์ดุสิตที่
          เรื่องที่เข้าใจยาก  เทคนิคสำาคัญคือ                                                                บริเวณคลองหก ต�าบลรังสิต อ�าเภอ-

          นักศึกษาต้องเห็นภาพรวมของหลักการ                                                              ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
          หรือทฤษฎีที่เรียน  แล้วเขียนตอบ

          ในรูปแบบของการบรรยายที่ประเด็น                                                                 เปลวเทียนให้แสง รามคำาแหงให้ทาง
          ต้องครบ  เค้าโครงต้องสมบูรณ์  หัวข้อ

          ต้องครบถ้วน       (อ่านต่อหน้า 10)
   1   2   3   4   5   6   7   8