Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 21 วันที่ 3 - 9 กันยายน 2561
P. 5

ข่าวรามคำาแหง
          วันที่ ๒๕ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๙
          วันที่ ๓ - ๙ กันยายน ๒๕๖๑                               ข่าวรามคำาแหง                                                               ๕ ๕


                                                                                        เศรษฐศาสตร์ 101



                                                                                รศ.อสัมภินพงศ์  ฉัตราคม                            คณะเศรษฐศาสตร์


            ห้องครัว                          (ฝ่อง เบ๊ป) ต่อ2                                  ตอน ปฏิรูปภาษี (2)



             ผศ.ดร.สรตี  ปรีชาปัญญากุล                aseanlang_ram@yahoo.co.th      ในตอนที่แล้วผมเล่าถึงปัญหาในการจัดเก็บรายได้ของทางราชการ

                 ครั้งก่อนได้รู้จักอุปกรณ์ต่างๆในครัวไปบ้างแล้ว  ครั้งนี้มีอุปกรณ์   ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ ทำาให้การจะหาเงินมาใช้จ่ายเพื่อเร่งรัดพัฒนาประเทศ
            ที่ใช้ประกอบอาหารเพิ่มเติม คือ                                      ในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นเป็นเรื่องที่แทบจะเป็นไปไม่ได้เพราะขนาดยังไม่ใช้

                  (จ๋าว) กระทะ                                                  จ่ายพัฒนาบ้านเมืองอะไร แค่ใช้จ่ายบริหารราชการแผ่นดินธรรมดาก็ยัง
                                                                                เป็นหนี้อยู่หลายล้านบาทซึ่งก็นับว่ามากโขอยู่ถ้าคิดว่าค่าเงินในสมัยนั้น

                                                                                แค่ 1 สตางค์ก็มากพอจะซื้อข้าวกินได้แล้ว

                 (โด่ สุ่ง เถื่อง ดุ๊ก บั่ง กาง หล่อง โส้ก ทวาย ทว่าย เหมี่ยง แลว โส่ง ก๊อ      การปฏิรูปที่สำาคัญนั้นจำาเป็นต้องวางรากฐานการจัดเก็บรายได้

            ฮาย กวาย เด๋ ซาง ส่าว ทึ้ก อัน)                                     และใช้จ่ายเงินของทางราชการให้เป็นระบบเสียก่อนเพราะแต่เดิมนั้น

                 อุปกรณ์ที่มักจะทำาจากเหล็ก พื้นผิวลาดเอียง ปากบานกว้าง มีสองหู   หน่วยงานจัดเก็บกระจายอยู่ตามตำาแหน่งหน้าที่ของขุนนางและระเบียบปฏิบัติ
                                                                                ในการส่งเงินรวมทั้งการเบิกจ่ายเงินนั้นก็ยังไม่ชัดเจน  ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จ-
            เพื่อย่าง หรือผัดอาหาร                                              พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิรูประบบ


                 (แหมะ สุ่ง จ๋าว สาน ถิต จอ ก๊าก กอน)                           บริหารราชการจากระบบจตุสดมภ์อันประกอบด้วย  เวียง  วัง  คลัง  นา
                                                                                อันเป็นระบบที่ใช้กันมาตั้งแต่ต้นกรุงศรีอยุธยาเสียก่อนทั้งนี้เพื่อแบ่งแยก
                 แม่ใช้กระทะทอดเนื้อให้ลูก ๆ                                    หน้าที่ในการจัดเก็บรายได้และการเบิกจ่ายเงินของทางราชการให้ชัดเจน
                      (มวย แส่ต) ตะหลิว
                                                                                โดยมีการแบ่งแยกส่วนราชการออกป็น 12 กรม ซึ่งต่อมายกขึ้นเป็นกระทรวง

                                                                                โดยกระทรวงที่เป็นหลักในการบริหารรายรับรายจ่ายของทางราชการ
                 (มวย แส่ต สุ่ง จอ ซุก หมอน สาน ฮวัก ซ่าว จอง จ๋าว)             มีชื่อว่ากระทรวงพระคลังมหาสมบัติ

                 ตะหลิวใช้สำาหรับคนอาหารทอดหรือผัดในกระทะ                            สำานักงานของกระทรวงพระคลังนั้นมีชื่อเรียกว่าหอรัษฎากรพิพัฒน์
                (โก๋ย) ครก                                                      ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง เป็นหน่วยงานแรกที่จัดระเบียบสำานักงาน


                                                                                แบบตะวันตกคือต้องมาทำางานตามเวลาราชการและข้าราชการได้เงินเดือน
                 (โด่ สุ่ง เด๋ ดึ่ง ก๊าก ทึก คี ไซ สา เหงี่ยน)                  แน่นอน หอรัษฎากรพิพัฒน์นี้เป็นสำานักงานกลางรวบรวมจัดเก็บรายได้
                 ภาชนะสำาหรับใส่ของเพื่อบดหรือตำา                               ภาษีอากรของแผ่นดินไว้เพียงแห่งเดียวไม่กระจัดกระจายอยู่ตามกระทรวง
                 (จั่ย) ไม้ตีพริก  หรือเรียกรวมกันว่า    (จั่ย โก๊ย)            ทบวงกรมต่าง ๆ เช่นที่เคยเป็นมา การจัดเก็บเงินได้อย่างเป็นระบบไม่รั่วไหล


                                                                                สูญเสียเหมือนแต่ก่อนทำาให้รายได้ของทางราชการเพิ่มขึ้นมากโดยไม่ต้อง
                 ครกและไม้ตีพริกมักจะทำาจากหินหรือไม้                           ขึ้นอัตราภาษีแต่อย่างใด และทำาให้สามารถจัดระเบียบจ่ายเงินเดือนให้กับ
                (เบ๊บ) เตา                                                      ข้าราชการทุกคนได้ตั้งแต่นั้นมา

                                                                                     เนื่องจากรายรับกับรายจ่ายของทางราชการนั้นต้องสัมพันธ์กันด้วย
                 (เบ๊บ สุ่ง กุ เด๋ ดุน เนิ้ว) เครื่องครัวสำาหรับการประกอบอาหาร   ระบบการจัดทำางบประมาณรายรับรายจ่าย                (อ่านต่อหน้า 10)

                     (เบ๊บ หล่อ) เตา เป็นคำาศัพท์ใช้เรียกเตาทั่วไป แต่ในความเข้าใจ

            ของชาวเวียดนามนั้น เตา จะหมายถึงเตาถ่าน                                  (โด่ สุ่ง บั่ง สือ บั่ง ส่าญ บั่ง ถุย ติญ ไฮ บั่ง กิม ลหว่าย เด๋ สุ่ง เจิ๊ต หลอง)
                          (เบ๊บ หล่อ เหวียต นาม ฝาย หล่า เบ๊บ ทาน) จึงมักจะมี         เครื่องครัวเครื่องเคลือบดินเผา, เครื่องปั้นดินเผา, แก้วหรือโลหะ
            ข้อความที่กล่าวว่า           (หญอม เบ๊บ) ก่อไฟ (จุดไฟ) และเพื่อให้     ภาชนะบรรจุของเหลว

            ชัดเจนยิ่งขึ้น มักจะกล่าวกันว่า                (หญอม เบ๊บ เนิ้ว เกิม)           (โหน่ย เกิม เดี่ยน) หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
            ก่อไฟหุงข้าว (ทำาอาหาร)                                                การหุงข้าวในสมัยก่อนของคนเวียดนามไม่ต่างจากคนไทย  คือ  หุงข้าว

            นอกจากนี้ยังมี         (เบ๊บ เดี่ยน) เตาไฟฟ้า                     ด้วยเตาถ่าน แต่ในปัจจุบันใช้หม้อหุงข้าวไฟฟ้าจะสะดวกสบาย และรวดเร็วกว่ามาก

                     (เบ๊บ กา) เตาแก๊ส ซึ่งมักจะพบคู่กันกับ
                     (บิ่ญ กา) ถังแก๊ส                                             (เหงื่อย เหวียต นาม ทิ้ก สุ่ง โหน่ย เกิม เดี่ยน กั๋ว ถาย ลาน)
                                                                                   คนเวียดนามชอบใช้หม้อหุงข้าวไฟฟ้าของไทย

                 (เบย เส่อ เฮิ่ว ญือ เติ๊ต ก๋า ก๊าก ซา ดิ่ง สือ สุ่ง เบ๊บ กา)                  (มวย มุก กัญ) ทัพพี

                 เดี๋ยวนี้ แทบทุกบ้านใช้เตาแก๊ส
                 (บิ่ญ) หม้อ                                                       (ถือ เถี่ย เหลิน สุ่ง เด๋ มุก กัญ) ช้อนขนาดใหญ่ที่ใช้ตักแกง หรือต้มจืด


                                                                                   (กอน สุ่ง มวย มุก กัญ จอ โบ๋) ลูกใช้ทัพพีตักแกงให้พ่อ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10