Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 20 วันที่ 27 สิงหาคม - 2 กันยายน 2561
P. 6

๖                                                       ข่าวรามคำาแหง                  วันที่ ๒๗ สิงหาคม - ๒ กันยายน ๒๕๖๑



                                            ไขมันทรำนส์






            วิมล ชีวะธรรม                                                                                                    ส�ำนักหอสมุดกลำง

                สุภาษิตไทยที่ว่า “ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ”  ใครๆ คงอยาก หลากหลายชนิด  โดยมีผลบังคับใช้ภายใน 180 วัน หรือตั้งแต่เดือนมกราคม
          ให้เกิดขึ้นกับตนเอง  แต่ว่าความไม่มีโรคนี้จะเกิดขึ้นได้ก็ขึ้นอยู่กับตัวของเรา ปี 2562 เป็นต้นไป

          ว่าเรารับประทานอะไรเข้าไป  โดยเฉพาะสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพร่างกาย  เพราะจะเป็น    แพทย์หญิงอัมพร  เบญจพลพิทักษ์  รองอธิบดีกรมอนามัยและโฆษก
          สาเหตุให้โรคภัยเบียดเบียนเรา  ทำาให้เราต้องเสียเงินในการรักษาตัว  ซึ่งค่ารักษาพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข บอกว่าตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่ 388 พ.ศ.2561

          ทุกวันนี้มีราคาแพงและมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเรื่อย ๆ                   สอดคล้องกับองค์การอนามัยโลกที่รณรงค์ให้ลดและเลิกใช้ไขมันทรานส์
                                                                               ภายในปี ค.ศ. 2023 หรือ พ.ศ.2566 เพื่อลดอัตราการตายจากโรคหัวใจและ

                                                                               หลอดเลือด  อัมพฤกษ์อัมพาต เนื่องจากร่างกายไม่สามารถเมตาบอไลต์หรือ
                                                                               ขับทิ้งไขมันทรานส์ได้  จึงทำาให้เกิดการอักเสบของผนังหลอดเลือด  ซึ่งเป็น

                                                                               ปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  นอกจากนี้ยังส่งผลเสียต่อจอประสาทตา
                                                                               ทำาให้จอประสาทตาเสื่อม  เกิดโรคนิ่วในถุงนำ้าดีและยังเกี่ยวข้องกับการเกิดโรค
                ไขมันเป็นอาหารประเภทหนึ่งที่จำาเป็นต่อร่างกาย  ไขมันมีอยู่ด้วยกัน    อัลไซเมอร์อีกด้วย

          3  ประเภท คือ  ไขมันอิ่มตัว  ไขมันไม่อิ่มตัว และไขมันทรานส์  แต่ไขมัน      ขณะเดียวกันแพทย์หญิงนภาพรรณ
          มีทั้งแบบดีและแบบไม่ดี                                               วิริยะอุตสาหกุล  ผู้อำานวยการสำานักโภชนาการ

                ไขมันชนิดที่ดี  (High  density  lipoprotein  หรือ  HDL)  จะทำาหน้าที่  กรมอนามัย  บอกว่าจากการตรวจวิเคราะห์อาหาร
          ขนส่งไขมันจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ใช้แล้วกลับมาที่ตับ  ซึ่งตับเป็นอวัยวะ  และผลิตภัณฑ์ต่างๆ จำานวน 126 ตัวอย่าง  พบว่า

          ที่คอยกำาจัดไขมันส่วนเกินออกจากร่างกาย  การมีระดับไขมันชนิดนี้สูงจะ   อาหารที่มี  กรดไขมันทรานส์เกินกว่าหรือเท่ากับ
          ลดความเสี่ยงของโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตันได้                            0.5 กรัมต่อหน่วยบริโภค  มีในเค้กหน้าครีม

                ไขมันชนิดที่ไม่ดี (Low density lipoprotein หรือ LDL) ไขมันชนิดนี้  คุกกี้เนย  ครัวซองต์  โดนัทแบบมีไส้และไม่มีไส้  ทอฟฟี่เค้ก  บัตเตอร์เค้ก
          เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้ว  จะเข้าสู่กระแสเลือดและไปสะสมมากเข้าก็จะทำาให้เกิด   พิซซ่า  เฟรนช์ฟราย  เวเฟอร์  และเนยเหลวรสจืด  ที่สำาคัญแม้บางสูตรจะมี

          ตะกรันในหลอดเลือด  ซึ่งอาจส่งผลทำาให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ  เป็นสาเหตุ  การปรับลดปริมาณไขมันทรานส์ลง  แต่กลับพบว่ามีไขมันอิ่มตัวเพิ่มขึ้นมา
          ทำาให้เสียชีวิตกะทันหัน หรือกลายเป็นอัมพฤกษ์อัมพาตได้                แทนเป็น 2 เท่า เช่น  เนยเทียมหรือมาการีน ปรับลดสูตรปริมาณไขมันทรานส์

                ไขมันทรานส์  เป็นไขมันที่ได้จากการสังเคราะห์ของกระบวนการผลิตอาหาร   จาก  1.3-2.8  กรัมต่อนำ้าหนัก  100  กรัม  เหลือแค่  0.5-1.7  กรัมต่อนำ้าหนัก
          ผ่านวิธีแปรรูปด้วยการเติมไฮโดรเจนเข้าไปในนำ้ามันพืชเพื่อทำาให้นำ้ามันพืช  100 กรัม แต่กลับพบว่ามีปริมาณไขมันอิ่มตัวเพิ่มขึ้นจาก 19 กรัมเป็น 41 กรัม

          มีความแข็งตัวมากขึ้น  ทนกับความร้อนได้สูงขึ้นและเก็บรักษาไว้ได้นานขึ้น   นอกจากขนมอบ  เบเกอรี่  ฟาสต์ฟู้ด  อาหารที่ทอดในนำ้ามันท่วมทั้งหลาย
          จุดเด่นของไขมันทรานส์นอกจากช่วยยืดอายุของอาหารได้นานขึ้น ไม่มีกลิ่นเหม็นหืน   หนังไก่  มันหมู  สะโพกไก่  เนื้อติดมัน เนย  ชีส  นำ้ามันมะพร้าว  นำ้ามันปาล์ม

          รสชาติอาหารไม่เปลี่ยน ด้วยเหตุนี้อุตสาหกรรมหรือผู้ประกอบการอาหาร     ครีมเทียม  ล้วนมีไขมันอิ่มตัวสูงทั้งนั้น  ซึ่งไขมันอิ่มตัวก็เป็นอีกปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยง
          จึงนิยมใช้ไขมันประเภทนี้                                             ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเช่นกัน  บางผลิตภัณฑ์แม้มีปริมาณ

                ตอนที่สังคมไทยมีกระแสตื่นตัวเรื่องสุขภาพใหม่ๆ  หลายครอบครัว    ไขมันทรานส์อยู่ในเกณฑ์ที่กำาหนด  แต่ให้รับประทานได้ไม่เกิน 1% ของพลังงาน
          เปลี่ยนจากการใช้นำ้ามันหมูในการปรุงอาหาร  หันมาใช้นำ้ามันพืชที่มีไขมัน   รวมต่อวัน หรือปริมาณไม่เกิน 2 กรัมต่อวันเท่านั้น  เมื่อเราบริโภคเป็นประจำา

          ไม่อิ่มตัวแทน  เพื่อลดภาวะไขมันอุดตันในเส้นเลือด  ส่วนนำ้ามันพืชชนิดยังไม่อิ่มตัว    แม้จะเป็นจำานวนน้อย  แต่เมื่อรวมกันทั้งวันและทุกวัน  ก็กลายเป็นปริมาณมากได้
          เมื่อวางไว้ในอุณหภูมิปกติจะทำาปฏิกิริยากับอากาศทำาให้เกิดกลิ่นเหม็นหืน    ให้ผู้บริโภคจำาไว้เสมอว่า  ไขมันอิ่มตัวแม้จะร้ายน้อยกว่าไขมันทรานส์แต่ก็

          ครั้นเมื่อนำาไปแช่ในตู้เย็นก็เกิดไข  นักวิทยาศาสตร์จึงได้หาทางแก้ไขโดยเติมไฮโดรเจน  ยังร้ายอยู่ดี  เพราะไขมันอิ่มตัวจะไปเพิ่มไขมันโดยรวมในร่างกาย  และเพิ่ม
          และวิตามินอีลงไป  เพื่อช่วยลดกลิ่นเหม็นหืน  แต่เมื่อเวลาผ่านไปวงการแพทย์  ไขมันตัวร้าย (LDL)  ซึ่งองค์การอาหารโลกและองค์การอนามัยโลก  แนะนำาว่า

          และองค์การอนามัยโลกพบว่า  เริ่มมีผู้ป่วยที่เกิดโรคจากการบริโภคไขมัน  ควรรับประทานกรดไขมันอิ่มตัวน้อยกว่า 10% หรือน้อยกว่าวันละ 22 กรัม
          ประเภทนี้มากขึ้นเรื่อยๆ  เพราะไขมันทรานส์ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่  ไม่เพียง     อันตรายจากไขมันทรานส์มีอยู่มากมาย  ดังนั้นเราควรพยายามหลีกเลี่ยง

          เป็นไขมันเลวที่เข้าสู่ร่างกายแต่ยังเข้าไปทำาลายไขมันดีในร่างกายของเราด้วย   อาหารฟาสต์ฟู้ด  ลดอาหารทอดต่างๆ โดยเฉพาะที่ทอดในนำ้ามันที่ท่วม  ปรับเปลี่ยน
                ทุกวันนี้ผู้คนจึงเริ่มกลับไปใช้ไขมันอิ่มตัวคือ นำ้ามันหมูในการประกอบ  พฤติกรรมจากการรับประทานขนมอบและเบเกอรี่  หันมารับประทานขนมไทยแทน

          อาหารตามเดิม  เพราะเชื่อว่าเป็นไขมันที่ได้จากธรรมชาติเป็นอันตรายต่อสุขภาพ  ใช้นำ้ามันที่ปรุงอาหารให้หลากหลายในปริมาณที่พอเหมาะและควรเพิ่มการ
          น้อยกว่าการใช้นำ้ามันพืชที่มีไขมันทรานส์ผสม  เมื่อเรารับประทานไขมันทรานส์เข้าไป    รับประทานผักผลไม้ให้หลากหลายชนิด

          ทำาให้เกิดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจสูง  แม้แต่ประเทศที่                           บรรณำนุกรม
          พัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริกา ก็มีการยกเลิกใช้ไขมันทรานส์ไปเรียบร้อยแล้ว นับถอยหลัง “ไขมันทรานส์” วันประกาศชัยชนะของผู้บริโภค  ค้นเมื่อ  15

                สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และกระทรวงสาธารณสุข             กรกฎาคม 2561, จาก http://www.thairath.co.th/
          ได้ออกกฎกระทรวงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2561  เตือนระวังลดทรานส์  แอบเพิ่มไขมันอิ่มตัว  ค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2561,

          เรื่องการกำาหนดอาหารที่ห้ามผลิต  นำาเข้า  หรือจำาหน่ายวัตถุดิบที่เรียกว่า     จาก http://www.thairath.co.th/
          กรดไขมันทรานส์  (Trans Fatty Acids) ที่นำามาผสมหรือผลิตเป็นอาหาร รูปภาพจาก  https://www.google.co.th/search?
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11