Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 20 วันที่ 27 สิงหาคม - 2 กันยายน 2561
P. 5

ข่าวรามคำาแหง
          วันที่ ๒๕ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๙
          วันที่ ๒๗ สิงหาคม - ๒ กันยายน ๒๕๖๑                      ข่าวรามคำาแหง                                                               ๕ ๕


                    เศรษฐศาสตร์ 101




            รศ.อสัมภินพงศ์  ฉัตราคม                            คณะเศรษฐศาสตร์

                           ตอน ปฏิรูปภาษี (1)                                    ห้องครัว                          (ฝ่อง เบ๊ป) ต่อ



                 ช่วงนี้มีข่าวที่ตั้งหัวข้อกันว่า “ปฏิรูปภาษี” เกิดขึ้นบ่อย ๆ แต่เท่าที่ผม  ผศ.ดร.สรตี  ปรีชาปัญญากุล    aseanlang_ram@yahoo.co.th

           ดูแล้วเรื่องที่ว่านั้นไม่น่าถึงขั้นเรียกว่าปฏิรูปซึ่งมาจากภาษาอังกฤษว่า  reform
           เพราะดูแล้วเป็นแค่การเพิ่มชนิดของภาษีขึ้น 1-2 อย่าง และการเปลี่ยนแปลง     ครั้งที่แล้วเราได้รู้จักคำาศัพท์       (ฝ่อง เบ๊ป) ห้องครัว

           อัตราภาษีบางประเภทเท่านั้น  เพื่อให้เห็นว่าต้องทำาแค่ไหนถึงจะเรียกปฏิรูป  Dao (ซาว) มีด     (เทื้อด) เขียง ครั้งนี้จะกล่าวถึงอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในห้องครัว คือ
                                                                                    (เดี๋ย) จาน
                                                                                                                        (เดี๊ย หล่า โด่ เหวิต ดึ่ง ทึ้ก อัน)
           ผมก็เลยจะเล่าถึงการปฏิรูปภาษีที่เกิดมาแล้วจริงให้อ่านกันเสียเลย      จานคือภาชนะสำาหรับใส่อาหาร อีกความหมายหนึ่งที่มักจะพบคือ หมายถึง
                 ภาษีเป็นแหล่งรายได้ที่สำาคัญของรัฐบาล ปัญหาเกี่ยวกับภาษีที่มัก  แผ่นดิสก์                 (โด่  เหวิต  ฮิ่ง  เดี๋ย)  เรียกว่าแผ่นดิสก์เพลง
           เกิดขึ้นบ่อย ๆ กับรัฐบาลของแทบจะทุกประเทศก็คือการจัดเก็บได้ไม่พอ              (เดี๋ย หญ่าก)    (บ๊าต) ชาม

           กับรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว  เรื่องที่ผมจะเขียนในตอนนี้จึงเป็นเรื่อง         (บ๊าต หล่า โด่ สุ่ง เด๋ ดึ่ง ทึ้ก อัน ทึ้ก อ๊วง) ชามเป็นภาชนะ
           ของการปฏิรูประบบภาษีเพื่อให้จัดเก็บได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น      สำาหรับใส่อาหาร หรือเครื่องดื่ม               (อัน ซอง เสือ บ๊าต)
           ซึ่งก็จะช่วยไม่ให้รัฐบาลต้องประสบปัญหาเงินไม่พอใช้  เรื่องนี้ผมขอย้อน   กินเสร็จล้างชามหรือบางครั้งจะได้ยินคนเวียดนามใช้คำาพูดเรียกรวมทั้ง

           เล่าเรื่องกลับไปในอดีตนะครับ เพื่อจะได้เป็นความรู้ว่าในอดีตเรามีวิธีแก้ปัญหา   ชามและจานว่า    (เสือ บ๊าต เดี๋ย) ล้างชาม (จาน) คล้ายกับบ้านเรา
           กันอย่างไร แต่ก็คงไม่ย้อนไปไกลมากเพราะการปฏิรูปภาษีที่สำาคัญเกิดขึ้น   ที่บอกว่า ล้างจาน แต่ก็หมายรวมถึงชามและอื่น ๆ ด้วย    (โก๊ก) ถ้วย

           ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 นี่เอง        ถ้วยคำานี้นอกจากเราจะรู้จักว่าเป็นถ้วยใส่นำ้าชาสำาหรับรับแขก ซึ่งได้เคย
                 ตามที่เราเรียนในวิชาประวัติศาสตร์กันมาตั้งแต่เด็กว่าในสมัย     คุยกันไปแล้ว ยังหมายถึงแก้วนำ้าก็ได้ เช่น              (โก๊ก เนื้อก

           รัชกาลที่ 5 นั้นเป็นยุคที่ประเทศไทยเริ่มต้นพัฒนาก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ   จ่าน ลี) แก้วนำ้า แก้วใส         หรือ                (โก๊ก เนื้อก
           มากมายทั้งการคมนาคมขนส่งทางรถไฟ การสาธารณสุข กิจการไปรษณีย์          เอิ๊ม  โก๊ก เนื้อก น้อง) แก้วนำ้าอุ่น แก้วนำ้าร้อน

           ไฟฟ้าและประปา รวมทั้งการตัดถนนใหม่ ๆ ให้รถยนต์วิ่งได้ขึ้นหลายสาย     (กอน มาง โก๊ก ก่า เฟ จอ โบ๋) ลูกถือแก้วกาแฟให้พ่อ       เที่ย ช้อน
           การพัฒนาเหล่านี้ล้วนแต่ต้องใช้เงินเป็นจำานวนมากทั้งสิ้น  แต่แหล่งรายได้
           สำาคัญของรัฐบาลคือภาษีนั้นจำากัดอยู่ด้วยสนธิสัญญาเบาว์ริงที่ทำาไว้กับ   (เที่ย สุ่ง กุ จอ อัน เดือ ม้อน อัน ฮวัก ไคว ทึ้ก อัน ไฮ โด่ อ๊วง) ช้อนใช้สำาหรับกิน

           ชาติมหาอำานาจซึ่งทำาให้ไทยเราต้องจำากัดอัตราภาษีขาเข้าไว้ที่ไม่เกิน  ตักอาหาร  หรือคนอาหารและเครื่องดื่ม
           ร้อยละ  3  เท่านั้น  (เรียกภาษีร้อยชักสาม)  ส่วนภาษีอื่นที่เป็นรายได้หลัก   (เหงื่อย  ถาย  อัน  เกิม  บั่ง  เที่ย)  คนไทยกินข้าวด้วยช้อน     เหนีย  ส้อม

           ให้รัฐบาลยุคปัจจุบัน คือภาษีเงินได้ก็ยังไม่มีการจัดเก็บในยุคนั้น และที่สำาคัญ                                              (เหนีย  หล่า
           ระบบการจัดเก็บก็ยังใช้วิธีการดั้งเดิมคือให้เอกชนประมูลผูกขาดเป็น     โด่ สุ่ง จอ เด๋ ทึ้ก อัน สัน จอง เหมี่ยง) ส้อมใช้สำาหรับตักอาหารเส้นเข้าปาก
           “เจ้าภาษี” และส่วนที่ทางราชการจัดเก็บก็ยังไม่มีการจัดทำาบัญชีและรายงาน                                      (เหงื่อย  โจว  โอว  อัน  บั่ง

           การจัดเก็บที่เป็นระบบจนบางครั้งมีแต่ตัวเลขในบัญชีแต่หาตัวเงินจริง ๆ ไม่เจอ  เหนีย  หว่า  ซาว)  คนยุโรปกินด้วยส้อมและมีด     ดั๋ว  ตะเกียบ
                 เรื่องเงินของทางราชการไม่พอใช้นั้นไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ เพราะตั้งแต่

           รัชกาลที่ 5 ทรงขึ้นครองราชย์ รายได้ภาษีอากรก็ลดลงเรื่อย ๆ จากปีละ                                     (ดั๋ว หล่า โด่ สุ่ง เด๋ หว่า เกิม หว่า กั๊บ
           5 - 6 หมื่นชั่งเหลือเพียง 4 หมื่นชั่งเท่านั้น แถมยังเป็นตัวเงินที่จะเบิกมา  ทึ้ก อัน หิ่ง เกว จ่อน หว่า หงัน แก็ป ท่าญ ตึ่ง โดย) ตะเกียบเป็นอุปกรณ์

           ใช้ได้จริงแค่ 2 หมื่นชั่ง ดังนั้นเมื่อพระองค์ทรงบรรลุนิติภาวะและบริหาร  สำาหรับกินข้าว  และคีบอาหาร  รูปร่างเป็นแท่งกลม  ประกอบกันเป็นคู่
           ราชการแผ่นดินได้โดยไม่ต้องขึ้นกับผู้สำาเร็จราชการแผ่นดินอีกต่อไป                                           (เหงื่อย เหวียต นาม อัน เกิม

           กระบวนการปฏิรูปภาษีครั้งใหญ่ก็เริ่มขึ้น                              บั่ง ดั๋ว) คนเวียดนามกินข้าวด้วยตะเกียบ
                 ผมต้องขอย้อนไปเขียนถึงวิธีการจัดเก็บแบบเดิมนิดหนึ่งเพื่อท่าน
           ผู้อ่านจะได้เห็นว่ามันรั่วไหลได้ขนาดไหน โดยจะขอเล่าถึงระบบดั้งเดิม      เมื่อการจัดเก็บโดยข้าราชการไม่มีประสิทธิภาพเช่นนี้จึงทำาให้มีการ

           ที่ขุนนางจัดเก็บก่อนก็แล้วกัน  เราต้องไม่ลืมนะครับว่าขุนนางยุคก่อน นำาระบบเจ้าภาษีซึ่งเป็นแนวทางที่ใช้ในเมืองจีนและเคยใช้มาก่อนแล้ว
           ปฏิรูปภาษีนั้นไม่มีเงินเดือน มีแต่เบี้ยหวัดเงินปีซึ่งขึ้นอยู่กับว่ามีเงินเหลือ  ตอนใกล้จะเสียกรุงศรีอยุธยากลับมาใช้ใหม่ราว ๆ สมัยรัชกาลที่ 3 โดยวิธี

           ในท้องพระคลังเพียงใด ถ้ามีมากก็อาจได้มากหน่อย ถ้ามีน้อยก็ได้น้อย  การคือภาษีแต่ละอย่างจะให้เอกชนประมูลว่าจะให้เงินกับทางราชการได้เท่าไหร่
           ก็เหมือนกับโบนัสของบริษัทในปัจจุบันนี่แหละครับ  แถมมีเรื่องเล่าว่าบางปี  ผู้ที่เสนอรายได้ให้มากที่สุดก็จะได้สิทธิผูกขาดจัดเก็บภาษีนั้น ๆ ไปวิธีการนี้
           ทางราชการไม่มีเงินพอจึงพระราชทานเป็นผ้าแทนก็มี  การที่ขุนนางไม่มี  ก็ดูเหมือนจะดีในตอนแรกเพราะทางราชการได้เงินเข้ามากกว่าที่ปล่อยให้ขุนนาง

           เงินเดือนนี่เองจึงมีประเพณีปฏิบัติให้ขุนนางเรียกรับเงินจากผู้มาติดต่อ จัดเก็บกันเอง แต่ต่อมาก็มีปัญหาเพราะพวกเจ้าภาษีเมื่อจัดเก็บเงินได้แล้ว
           ราชการได้ ส่วนภาษีอากรต่าง ๆ ของทางราชการจะมีขุนนางที่มีตำาแหน่ง ก็เก็บเอาไว้ไม่ส่งมอบให้ทางการ พอเร่งรัดก็ขอผัดผ่อนไปเรื่อย ๆ จนบัญชี

           หน้าที่โดยเฉพาะจัดเก็บ แต่ก็ไม่มีระบบการบันทึกและตรวจสอบที่ชัดเจน รายรับของทางราชการมีแต่ตัวเลข  ไม่มีเงินจริงหลักฐานเรื่องนี้ปรากฏชัดเจน
           จนทำาให้การจัดเก็บรั่วไหลไปเสียมาก  และถ้าเป็นกรณีของข้าหลวงที่  อยู่ในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 5

           ส่งไปปกครองหัวเมืองก็ยิ่งแล้วใหญ่เพราะใช้ระบบที่เรียกว่า  “กินเมือง”      การปฏิรูปภาษียังไม่ทันเริ่ม  โควต้าหน้ากระดาษผมก็หมดลงเสียแล้ว
           คือจัดเก็บภาษีอากรได้เท่าไหร่สามารถหักเก็บไว้ได้ครึ่งหนึ่ง         กรุณาติดตามตอนต่อไปนะครับ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10