Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 15 วันที่ 23 - 29 กรกฎาคม 2561
P. 6

๖                                                       ข่าวรามคำาแหง                          วันที่ ๒๓ - ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑



              มุมมองกฎหมาย กรณีสิทธิบัตรยาวาลซาร์แทน



                                       (Varsantan) ตอนที่ 1



            อาจารย์กิตติยา  พฤกษารุ่งเรือง                                                                                          คณะนิติศาสตร์

                ช่วงนี้หลายๆท่านคงได้ยินข่าวคราวของ                                                     พิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่ปรากฏตามมาตรา  5

          การเพิกถอนสิทธิบัตรยาวาลซาร์แทน (Varsantan)                                                   ซึ่งก�าหนดว่าการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้
          ซึ่งเป็นการปิดฉากการต่อสู้คดีในชั้นศาลที่มีมา                                                 ต้องประกอบไปด้วย 3 ลักษณะดังต่อไปนี้ (1) เป็นการ

          ยาวนานกว่า 7 ปีระหว่างบริษัทยักษ์ใหญ่ข้ามชาติ                                                 ประดิษฐ์ขึ้นใหม่  (2)  เป็นการประดิษฐ์ที่มีขั้น
          กับบริษัทยาในประเทศไทย ซึ่งชัยชนะของบริษัทยา                                                  การประดิษฐ์สูงขึ้น และ (3) เป็นการประดิษฐ์

          ในประเทศไทยครั้งนี้ นับว่าเป็นผลดีต่อวงการ-                                                   ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม หากผู้ตรวจสอบ
          สาธารณสุข อีกทั้งยังเป็นสีสันให้กล่าวขานกัน                                                   เห็นว่าไม่ควรรับจดทะเบียน จะด�าเนินการยกค�าขอนั้น

          ในวงการนักกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาด้วยเช่นกัน                                                  โดยผู้ยื่นค�าขอมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการสิทธิบัตร
          บทความฉบับนี้จึงขอกล่าวถึงคดีสิทธิบัตรยา-                                                     และศาลต่อไปตามล�าดับ  หากผู้ตรวจสอบเห็นว่า

          วาลซาร์แทน ผ่านแง่มุมของกฎหมายสิทธิบัตร                                                       ควรรับจดทะเบียน จะด�าเนินการท�ารายงานการตรวจ
          ในบางประการ และแนวคิดในการคุ้มครองสิทธิบัตร                                                   สอบต่อเสนออธิบดี เห็นควรรับจดทะเบียนและออก

          ในประเทศไทยที่เกี่ยวข้อง                                                                      สิทธิบัตร  หากสิทธิบัตรได้ออกไปโดยไม่ครบ
                                                                                                                1
                การคุ้มครองสิทธิบัตรในประเทศไทย                                                         องค์ประกอบตามมาตรา 5  ให้ถือว่าสิทธิบัตรนั้น

          อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522                                                    ไม่สมบูรณ์  บุคคลใดจะกล่าวอ้างขึ้นก็ได้  หรือบุคคล
          ซึ่งตามมาตรา 3 ให้ความหมายของค�าว่า “สิทธิบัตร”                                               ผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการจะฟ้องต่อศาล

          ไว้ว่าเป็น “หนังสือสำาคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครอง                                               ขอให้เพิกถอนสิทธิบัตรนั้นก็ได้ (มาตรา 54)
          การประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์”                                                            เมื่อการประดิษฐ์ได้รับการจดทะเบียนแล้วผู้ทรงสิทธิบัตร

          จากความหมายดังกล่าวสื่อให้เห็นว่าคุ้มครองเพียงแค่การประดิษฐ์หรือ  จะเกิดสิทธิผูกขาดในการผลิตใช้ รวมถึงการขายซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีนั้น
          การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีการออกหนังสือส�าคัญเท่านั้น หนังสือส�าคัญนี้สามารถ  (มาตรา  36)  แต่ไม่ได้หมายความว่าสิทธิผูกขาดจะคงอยู่ตลอดไป  สิทธิผูกขาดนี้

          ไปยื่นค�าขอจดทะเบียนได้ที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา หากไม่ได้รับการจดทะเบียน  คงอยู่เพียง 20 ปีนับแต่วันขอรับสิทธิบัตรเท่านั้น (มาตรา 35) มิใช่นับแต่
          การประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์นั้นก็จะมิได้รับความคุ้มครอง  วันที่ได้จดทะเบียนสิทธิบัตร เหตุผลที่อายุคุ้มครองสิทธิบัตรมีจ�ากัด ก็เนื่องด้วย

          ในประเทศไทย แม้จะมีการจดทะเบียนการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ วัตถุประสงค์ประการหนึ่งของการคุ้มครองสิทธิบัตร ก็เพื่อส่งเสริมให้นวัตกรรมใหม่ๆ
          ดังกล่าวไว้ในต่างประเทศก็ตาม เนื่องจากการคุ้มครองสิทธิบัตรใช้หลักอาณาเขต  แพร่หลาย และสนับสนุนอุตสาหกรรมภายในประเทศให้ก้าวไกลยิ่งขึ้น เมื่ออายุ

          จดทะเบียนประเทศใด คุ้มครองแค่ภายในอาณาเขตของประเทศนั้น               คุ้มครองสิ้นสุดลง การประดิษฐ์ภายใต้สิทธิบัตรนั้นจะตกเป็นสาธารณสมบัติ
                ยารักษาโรคโดยส่วนมากจะยื่นขอรับการคุ้มครองในรูปแบบของสิทธิบัตร  เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนหรืออุตสาหกรรมในประเทศได้เข้าถึง

          การประดิษฐ์ ซึ่งตามมาตรา 3 ได้ให้ความหมายของ “การประดิษฐ์”  ไว้ว่า “การคิดค้น  นวัตกรรมใหม่ๆ สามารถน�ามาผลิตและออกจ�าหน่ายได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย
          หรือคิดทำาขึ้นอันเป็นผลให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีใดขึ้นใหม่หรือ  เมื่อมีผู้ผลิตยารูปแบบเดียวกันจ�านวนหลายราย ท�าให้เกิดการแข่งขันด้านราคากัน

          การกระทำาใด ๆ ที่ทำาให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธี”  จากความหมายดังกล่าว  ด้วยกลไกการตลาดนี้จะส่งผลให้ราคาซื้อขายนั้นถูกลง เป็นประโยชน์ต่อประชากร
          ยารักษาโรคจึงสามารถขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ในตัวผลิตภัณฑ์ยา หรือกรรมวิธี ในประเทศอีกด้วย หรืออาจกล่าวได้ว่าการน�าการประดิษฐ์มาจดทะเบียนสิทธิบัตรนั้น

          ในการผลิตยาได้                                                       เป็นการแลกเปลี่ยนระหว่างการให้สิทธิคุ้มครองกับการให้ข้อมูลคงไม่ผิดนัก
                กระบวนการยื่นค�าขอจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดิษฐ์นั้น  เริ่มที่ผู้ยื่นค�าขอ    แม้ว่าการจ�ากัดอายุคุ้มครองสิทธิบัตร  ดูเหมือนจะเป็นการสร้างความสมดุล

          ต้องจัดเตรียมเอกสารยื่นต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา เมื่อผ่านการตรวจสอบ ระหว่างสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรและสิทธิของสาธารณชนก็ตาม แต่คงไม่เป็น
          เบื้องต้นแล้ว เจ้าหน้าที่จะด�าเนินการประกาศโฆษณาค�าขอรับสิทธิบัตร (มาตรา 28)  ที่น่าพึงพอใจต่อผู้ทรงสิทธิบัตรเท่าไรนัก ผู้ทรงสิทธิบัตรจึงพยายามหาช่องทาง

          การประกาศโฆษณานี้เป็นการเปิดโอกาสให้กับบุคคลทั่วไปที่จะมาคัดค้านว่า  ในการยืดอายุคุ้มครองการประดิษฐ์ของตนเองให้คงต่อไปให้นานที่สุดเท่าที่จะท�าได้
          ตนเป็นผู้มีสิทธิดีกว่า หรือค�าขอรับสิทธิบัตรเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย หรือผู้ขอไม่มีสิทธิ  ซึ่งกลยุทธ์หนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากส�าหรับผู้ทรงสิทธิบัตรในอุตสาหกรรมยา

          ขอรับสิทธิบัตร ซึ่งจ�าต้องคัดค้านภายใน 90 วันนับแต่วันโฆษณาค�าขอ หากมีการคัดค้าน คือ “รูปแบบการจดสิทธิบัตรไม่จบสิ้น” (Evergreening Patent) กลยุทธ์นี้อาศัย
          ภายในก�าหนดระยะเวลาดังกล่าว  นายทะเบียนจะท�าการยกค�าขอรับสิทธิบัตรนั้น  การปรับเปลี่ยนรายละเอียดของตัวยาหรือกรรมวิธีการผลิตยาเพียงเล็กน้อย

          โดยผู้ยื่นค�าขอมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการสิทธิบัตรและศาลต่อไปตามล�าดับ  เพื่อน�ามายื่นขอรับความคุ้มครองอย่างต่อเนื่องไม่มีสิ้นสุด ซึ่งเป็นกลยุทธ์ของ
          หากไม่มีการคัดค้าน ผู้ยื่นค�าขอรับสิทธิบัตรต้องยื่นค�าขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์  บริษัทยาข้ามชาติในคดีสิทธิบัตรยาวาลซาร์แทน นี้

          ผู้ตรวจสอบจะท�าการสืบค้นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตร     ตอนที่ 1 ขอสิ้นสุดเพียงเท่านี้ ส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับคดีสิทธิบัตร
          ในฐานข้อมูลสิทธิบัตรทั่วโลก  และตรวจสอบเนื้อหาสาระทางเทคนิค  โดย  ยาวาลซาร์แทนจะขอกล่าวในตอนที่ 2 ต่อไป


          1  กรมทรัพย์สินทางปัญญา, ขั้นตอนการตรวจสอบคำาขอสิทธิบัตรการประดิษฐ์ [Online], Available URL: https://www.ipthailand.go.th/th/patent-005/item/
           ขั้นตอนการตรวจสอบค�าขอสิทธิบัตรการประดิษฐ์.html, 2559 (กันยายน, 17).
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11