Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 15 วันที่ 23 - 29 กรกฎาคม 2561
P. 3

วันที่ ๒๓ - ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓



            สองศิษย์เก่าเล่าประสบการณ์


            ฝากน้องใหม่เพียรพยายามจนสำาเร็จ













                                                                                                             “ข่าวรามค�าแหง” ได้แสดงความเสียใจ
                                                                                                        ต่อการถึงแก่อนิจกรรมของ พลตำารวจเอก

                                                                                                        วสิษฐ  เดชกุญชร ในฉบับที่แล้ว และ
                                                                                                             ก�าลังพูดถึงความเป็นมาของท่าน

                สองศิษย์เก่ารามค�าแหงเล่าประสบการณ์  ฝากน้องใหม่อาศัยความพยายามมุ่งมั่นจนส�าเร็จตามเป้าหมาย       พลต�ารวจเอกวสิษฐ  โอนไปรับราชการ
          ในงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง ประจ�าปีการศึกษา  2561  เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคมที่ผ่านมา    ที่กองต�ารวจสันติบาล

          ณ อาคารคณฑี ชั้น 2  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง วิทยาเขตบางนา                                             กองบัญชาการต�ารวจสอบสวนกลาง
                นางสาวพัชรมณฑ์  เสวะนา  พนักงานธนาคารกสิกรไทย สาขาหนองบัวล�าภู  ศิษย์เก่าคณะนิติศาสตร์    กองบัญชาการต�ารวจตระเวนชายแดน และ

          สาขาวิทยบริการฯ จังหวัดหนองบัวล�าภู  ผู้พิการแขนทั้ง 2 ข้างที่มีความมุมานะพยายามจนประสบความส�าเร็จ     เป็นนายตำารวจราชสำานักประจำา
          ในการเรียนระดับปริญญาตรีและปริญญาโท  โดยใช้เท้าแทนมือในการหยิบจับสิ่งของ  และขีดเขียนมาตั้งแต่เด็ก       เป็นรองอธิบดีกรมต�ารวจ และ

          รวมถึงการเข้าเรียน จดเลกเชอร์ และท�าข้อสอบอัตนัยของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง              เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
                “ก่อนเข้าเรียนทุกครั้งจะอ่านหนังสือให้ตัวเองเข้าใจ  มองหาประเด็นสำาคัญของหนังสือเหมือนทำาความรู้จัก      พลตำารวจเอกอชิรวิทย์ สุพรรณเภสัช

          นิสัยใจคอของหนังสือเล่มนั้น  แล้วทำาโน้ตย่อ  ฟังบรรยายย้อนหลังจากสื่อการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย    อดีตรองผู้บัญชาการต�ารวจแห่งชาติ กล่าวว่า
          โดยการเรียนของตนไม่เหมือนคนอื่น  เพราะต้องใช้เท้าในการเขียน  มีปัญหาในการทำาข้อสอบไม่ทันเวลา       ท่านเป็นตัวอย่างของต�ารวจที่มีอุดมคติ
          และไม่อยากรบกวนให้คนอื่นเขียนให้  จึงพยายามพึ่งพาตัวเองให้มากที่สุด  อาจจะช้า  แต่ก็มีใจสู้”  สะท้อนให้ประชาชนได้รู้ว่าต�ารวจดี มีอุดมคติ

                  พัชรมณฑ์  เล่าอีกว่าเธอเกิดมาพร้อมร่างกายที่ไร้แขนทั้งสองข้าง  เริ่มต้นเส้นทางการศึกษาช้ากว่าคนอื่น    เป็นที่พึ่งของประชาชนมีอยู่จริงและ
          เนื่องจากถูกปฏิเสธให้เข้าเรียน  ท�าให้ต้องศึกษาด้วยตนเองพร้อมกับฝึกฝนใช้เท้าเขียนหนังสือจนอายุ 23 ปี       ต�ารวจแบบนี้เป็นส่วนส�าคัญที่ท�าให้

          และเรียนจบปริญญาโทในวัย 37 ปี                                                                 ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ  ยังด�ารงอยู่
                “ทุกสิ่งทุกอย่างขึ้นอยู่กับใจ  ต้องมีใจสู้เพื่อฟันฝ่าทุกอุปสรรค  แล้วเดินหน้าทำาตามความฝันด้วย     ในส่วนที่พลต�ารวจเอกวสิษฐ

          ความเพียรพยายามและความอดทน  พร้อมความมุ่งมั่นจนกว่าจะมีวันนี้ได้  ฝากน้องๆ ตั้งใจเรียน  พาเรือลำานี้   ได้รับการคัดเลือกให้เป็นศิลปินแห่งชาติ
          ของตัวเองไปสู่ฝั่งฝันให้ได้  เมื่อมองกลับมาแล้วจะได้เกิดความภาคภูมิใจที่ได้มุมานะพยายาม  และขอบคุณ  สาขาวรรณศิลป์ ปีพุทธศักราช ๒๕๔๑

          มหาวิทยาลัยรามคำาแหงที่ให้โอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม ถ้าไม่มีรามฯ คงไม่มีเรา”             เนื่องเพราะ
                ด้าน เรืออากาศตรีหญิงมนสินี  ชูสุวรรณ  ข้าราชการทหารก�าลังพล  กรมก�าลังพลทหารอากาศ  ศิษย์เก่าพรีดีกรี      ท่านมีผลงานวรรณกรรม อาทิ
          คณะรัฐศาสตร์เกียรตินิยมอันดับ 1 แนะการเรียนพรีดีกรีเป็นการหยอดกระปุกออมสินทางการศึกษา              จันทน์หอม        (๒๕๑๔)

          สามารถสะสมหน่วยกิตได้เรื่อยๆ จนจบ ม.6  แล้วน�ามาเทียบโอนเรียนปริญญาตรี  จนได้ก้าวสู่ตลาดแรงงาน     ดงเย็น           (๒๕๑๘)
          ก่อนเพื่อนรุ่นเดียวกัน                                                                             ลว.สุดท้าย       (๒๕๒๒)

                “สมัยที่ป๊อปเรียนมัธยมปลาย ช่วง ม.6 เพื่อนๆ ร่วมชั้นกำาลังเคร่งเครียดกับการเตรียมตัวเข้ามหาวิทยาลัย       สารวัตรเถื่อน   (๒๕๒๘)
          เผชิญหน้ากับการสอบหลายสนาม  ขณะที่ป๊อปวางเป้าหมายของตัวเองไว้ชัดเจนตั้งแต่เริ่มเรียนพรีดีกรีแล้ว      แม่ลาวเลือด    (๒๕๓๐)
          จึงไม่ได้เข้าสู่สนามสอบเหมือนเพื่อนๆ และไม่มีความกังวลใจเรื่องมหาวิทยาลัยที่จะเรียนต่อ  เพราะมีกระปุกออมสิน     หักลิ้นช้าง    (๒๕๓๓)

          ที่สะสมหน่วยกิตของมหาวิทยาลัยรามคำาแหงมาตั้งแต่ ม.4 เทอม 2 ตามคำาแนะนำาของคุณแม่  จึงได้เรียนเร็ว
          จบเร็ว คว้าเป้าหมายสอบเป็นทหารอากาศได้เร็วตั้งแต่อายุยังน้อย”                                      เลือดเข้าตา      (๒๕๓๔)

                ศิษย์เก่ารัฐศาสตร์ เล่าต่อไปว่าการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยรามค�าแหงไม่เหมือนที่อื่น  เรียนที่นี่      สันติบาล   (๒๕๓๕)
          มีห้องเรียน มีอาจารย์สอนบรรยายทุกวิชา  แต่ไม่บังคับเข้าห้องเรียน  เป็นเอกลักษณ์ของการเป็นตลาดวิชา      สารวัตรใหญ่   (๒๕๓๗)

          แห่งเดียวในประเทศไทย  ที่เปิดโอกาสทางการศึกษาให้กับทุกคน                                           เบี้ยล่าง        (๒๕๔๒)
                “แต่ละคนมีต้นทุนชีวิตไม่เท่ากัน  มหาวิทยาลัยรามคำาแหงเอื้อโอกาสให้ทุกคนสามารถเรียนได้  และ     บ่วงบาศ        (๒๕๔๓)

          ทำาภารกิจอื่นๆ ในชีวิตประจำาวันได้  ซึ่งต้องมีการแบ่งเวลาให้ดี  และเต็มที่กับสิ่งที่ทำา  วางแผน โฟกัสเป้าหมาย       ประกาศิตอสูร   (๒๕๔๙)
          ทุกวันนี้ป๊อปสามารถประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายของตัวเองได้  ไม่ใช่เพราะเก่ง  แต่เพราะมีความมุมานะพยายาม      พรมแดน    (๒๕๕๑)
          ที่ทุกคนก็สามารถทำาได้                                                                             อวสานสายลับ   (๒๕๕๘)

                ..เปลวเทียนให้แสง  รามคำาแหงให้ทาง  เป็นหนทางที่นำาไปสู่ความสำาเร็จได้อย่างไม่น้อยหน้าใคร  ภาคภูมิใจ      รอยพระยุคลบาท (๒๕๔๔)
          ที่ได้เรียนจบจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง ฝากน้องๆ ตั้งใจเรียน ตั้งเป้าหมายแล้วไปให้ถึง   เปลวเทียนให้แสง รามคำาแหงให้ทาง

          และร่วมกิจกรรมกับมหาวิทยาลัยเพื่อเสริมสร้างทักษะ และประเมินตนเอง พร้อมสร้างสายสัมพันธ์
          คอยช่วยเหลือกันและกันด้านการเรียนและการทำางานในอนาคต”
   1   2   3   4   5   6   7   8