Page 9 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 49 วันที่ 18 - 24 มีนาคม 2562
P. 9

วันที่ ๑๘ - ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๒                          ข่าวรามคำาแหง                                                              ๙


            ตอบ ปัญหานักศึกษา                            ภาวะการมีงานทำาของบัณฑิตฯ                                 (ต่อจากหน้า 5)



           ถาม  ผมมีความสงสัยเรื่องเกรด ขอค�าอธิบาย

           เป็นข้อๆ ขอบคุณครับ
                  1. ถ้าเราสอบได้เกรด D วิชาหนึ่งแล้ว
           เราลงทะเบียนเรียนวิชานั้นอีกรอบ พอถึงวันสอบ
           เราไม่ได้สอบวิชาดังกล่าว ขอเรียนถามว่าจะเป็นการ
           รีเกรดหรือไม่
                  2. ถ้าเราสอบได้เกรด D วิชาหนึ่ง แล้วเรา

           ลงทะเบียนเรียนวิชานั้นอีกรอบ พอถึงวันสอบเรา
           ได้ไปสอบวิชาดังกล่าว แต่ปรากฏว่าสอบได้ F ขอ
           เรียนถามว่าจะเป็นการรีเกรดหรือไม่
                  3. ถ้าเราสอบได้เกรด D+ วิชาหนึ่งแล้วเรา
           ลงทะเบียนเรียนวิชานั้นอีกรอบ พอถึงวันสอบเรา
           ได้ไปสอบวิชาดังกล่าว แต่ผลสอบได้ D (ต�่ากว่า  ตาราง 1 จ�านวนและร้อยละของบัณฑิตที่มีงานท�า ปีการศึกษา 2559-2560 จ�าแนกตามประเภทงานที่ท�า
           ครั้งก่อน) ขอเรียนถามว่าจะเป็นการรีเกรดหรือไม่

                  4. ถ้าเราสอบได้เกรด D วิชาหนึ่งแล้วเรา                     ประเภทงานที่ทำา                         จำานวน           ร้อยละ
           ลงทะเบียนเรียนวิชานั้นอีกรอบหนึ่ง แต่เราได้ไปบอก  ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐ                         1,703           22.41
           เลิกกระบวนวิชาดังกล่าว พอถึงวันสอบเราไม่ได้ไป  รัฐวิสาหกิจ                                                  237             3.12
           สอบ ขอเรียนถามว่าจะเป็นการรีเกรดหรือไม่        พนักงานบริษัท/ธุรกิจเอกชน                                   3,587           47.21
           ตอบ  1. ไม่ถือเป็นการรีเกรด                    พนักงานองค์กรต่างประเทศ/ระหว่างประเทศ                          37            0.49

                  2. ไม่ถือเป็นการรีเกรด                  ท�างานอิสระ/เจ้าของกิจการ/ท�ากิจการกับครอบครัว              2,034           26.78
                  3. ถือเป็นการรีเกรด แต่ในทรานสคริปท์                            รวม                                 7,598          100.00
           ที่ส�าเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยจะปรับเกรดให้            ส�าหรับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของบัณฑิตปีการศึกษา 2559-2560 ที่มีงานท�า เท่ากับ
           เหลือเพียงเกรดเดียว คือเกรดที่ได้ D+ เท่านั้น  22,044.68 บาท ซึ่งพบว่า บัณฑิตคณะทัศนมาตรศาสตร์ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงสุด เท่ากับ
                  4. ไม่เป็นการรีเกรด แต่ในกรณีที่นักศึกษา  37,568.97 บาท รองลงมาสามล�าดับ คือ  คณะวิศวกรรมศาสตร์ 31,201.37 บาท สถาบันการศึกษา
           ได้ท�าเรื่องบอกเลิกกระบวนวิชาดังกล่าวแล้ว     นานาชาติ 28,764.78 บาท  และคณะเศรษฐศาสตร์ 25847.33 บาท ตามล�าดับ โดยบัณฑิตคณะ
           นักศึกษาไม่มีสิทธิ์เข้าสอบ ดังนั้น เมื่อถึงวันสอบ  ศึกษาศาสตร์มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต�่าสุด เท่ากับ 16,359.61 บาท และเงินเดือนตามเกณฑ์ที่ ก.พ.

           นักศึกษาจึงไม่มีสิทธิ์ในการเข้าสอบในวันสอบดังกล่าว  ก�าหนด (15,000 บาท) ของบัณฑิตที่ได้งานใหม่ จ�านวน 3,636 คน พบว่า ส่วนใหญ่ได้รับเงินเดือน
           ถาม  ถ้านักศึกษาขอจบแล้วจะลงทะเบียนสอบ        มากกว่าเกณฑ์ที่ ก.พ. ก�าหนด คิดเป็นร้อยละ 41.20 รองลงมา ได้รับเงินเดือนน้อยกว่าเกณฑ์ที่ ก.พ.
           ซ�้าซ้อน ต้องท�าอย่างไรบ้าง                   ก�าหนด คิดเป็นร้อยละ 33.06 ได้รับเงินเดือนตามเกณฑ์ที่ ก.พ. ก�าหนด คิดเป็นร้อยละ 21.86 และไม่
           ตอบ  ตามประกาศกระบวนวิชาที่เปิดสอนพร้อม       ระบุเงินเดือน คิดเป็นร้อยละ 3.88
           กับวันและเวลาสอบไล่ (ม.ร.30) ได้ก�าหนดเรื่องการ        บัณฑิตที่มีงานท�าใหม่ จ�านวน 3,636 คน ส่วนใหญ่ได้งานท�าที่ตรง/สอดคล้องกับสาขาวิชา

           ขอสอบซ�้าซ้อนไว้ ดังนี้
                  “เฉพาะนักศึกษาที่ขอจบการศึกษาเท่านั้น  ที่ส�าเร็จ คิดเป็นร้อยละ 71.15 และไม่ตรงสาขาวิชาที่ส�าเร็จ คิดเป็นร้อยละ 28.85 ซึ่งบัณฑิตที่มีงานท�า
           โดยด�าเนินการที่คณะ ซึ่งนักศึกษาสังกัดอยู่ภายใน  ส่วนใหญ่สามารถน�าความรู้จากสาขาวิชาที่เรียนไปประยุกต์ใช้ในหน้าที่การงานได้ในระดับมากถึง
           วันที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน มิฉะนั้นมหาวิทยาลัย  มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 52.33
           จะไม่อนุมัติให้สอบซ�้าซ้อน                             แนวโน้มการได้งานท�าและศึกษาต่อของบัณฑิต จากผลการส�ารวจภาวะการมีงานท�าของ

                  เงื่อนไขของการขอสอบซำ้าซ้อน            บัณฑิต ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามค�าแหง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555-2559 พบว่า ในปีการศึกษา
                  1. คุณสมบัติ                           2559 บัณฑิตมีแนวโน้มได้งานท�าลดลงเล็กน้อยเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจ นอกจากนี้ในจ�านวนบัณฑิตที่
                      1.1 เป็นผู้ที่ขอจบการศึกษาในภาคนี้  กรอกแบบส�ารวจฯ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555-2559 ต้องการจะศึกษาต่อ/ก�าลังศึกษาต่อ เฉลี่ยร้อยละ
                      1.2 กระบวนวิชาที่ขอสอบซ�้าซ้อนต้อง  8.18 รายละเอียดดังแสดงในตาราง 2
           ไม่เป็นวิชาเลือกที่สามารถเลือกวิชาอื่นแทนได้  ตาราง 2  จ�านวนและร้อยละของบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามค�าแหงที่มีงานท�า ไม่มีงาน และศึกษาต่อ
                  2. การยื่นขอสอบซ�้าซ้อน                ปีการศึกษา 2555-2559

                      2.1 กรอกแบบฟอร์มขอสอบซ�้าซ้อน      ปีการศึกษา            2555           2556              2557            2558          2559
           ตามที่คณะก�าหนดต่อคณบดีหรือผู้แทน โดยด�าเนินการ
           ในวันลงทะเบียนหรือวันสุดท้ายของก�าหนดการ      มีงานท�า      12,084 (79.96%)  10,630 (78.09%)  9,681 (78.69%)  8,983 (79.86)  7,598 (77.96)
           ลงทะเบียนเรียนในภาคนั้น ๆ เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว  ไม่มีงานท�า      1,623 (10.74%)   1,881 (13.82%)  1518 (12.34%) 1,215 (10.80)  1,334(13.69)
           จึงจะเข้าสอบซ�้าซ้อนได้                       ศึกษาต่อ        1,405 (9.30%)     949   (6.97%)     994 (8.08%)     924 (8.21)     814 (8.35)

                  ดังนั้น ในวันที่นักศึกษาได้ลงทะเบียน และ           รวม           15,112         13,460             12,193          11,122         9,746
           ในใบเสร็จลงทะเบียนได้มีการกากบาทขอจบใน
           ใบเสร็จลงทะเบียนแล้ว ให้นักศึกษาน�าใบเสร็จดังกล่าว  เอกสารอ้างอิง
           ไปติดต่อที่ฝ่ายทะเบียนของคณะที่นักศึกษาก�าลังศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ, ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (มปป.). กรอบแผนอุมศึกษาระยะยาว
           เพื่อท�าเรื่องขอสอบซ�้าซ้อน นักศึกษาต้องไปด�าเนินการ     15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

           ในวันลงทะเบียนเรียนหรือภายในวันที่ทางคณะก�าหนด  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง, กองแผนงาน, งานวิจัยสถาบัน. (2561). รายงานภาวะการมีงานท�าของบัณฑิต

                                      กองบรรณาธิการ             มหาวิทยาลัยรามค�าแหง ปีการศึกษา 2559. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
   4   5   6   7   8   9   10   11   12