Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 49 วันที่ 18 - 24 มีนาคม 2562
P. 6
๖ ข่าวรามคำาแหง วันที่ ๑๘ - ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๒
ชุมชนชาวอุทัยธานีปลื้มใจ
ม.รามฯ มอบองค์ความรู้ครบทุกด้าน
เมื่อวันที่ 12-14 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ภาษาจีน ที่เข้ามามีบทบาทมาก อีกทั้งจังหวัดอุทัยธานี ของรัฐบาล จึงหวังให้ภาครัฐทั้งสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยรามค�าแหงส่งทีมนักวิชาการกว่า 80 เป็นเมืองท่องเที่ยวที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพ มีนักท่องเที่ยว หรือหน่วยงานต่างๆ ที่มีความรู้เกี่ยวกับโอทอปนวัตวิถี
ชีวิตร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้จากมหาวิทยาลัย แวะเวียนเข้ามามากมาย หากชาวบ้านรู้ภาษาก็จะ เข้ามาเสริมสร้างความรู้ให้กับชาวบ้านมากขึ้น
สู่สังคม ในโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพ สามารถช่วยกันประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมสินค้าท้องถิ่น “ชาวบ้านมีภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่แล้ว แต่ยัง
แก่ชุมชนชาวอุทัยธานี ณ สาขาวิทยบริการเฉลิม เปิดตลาดให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ขาดความรู้ด้านการจัดการที่จะน�าไปสู่การต่อยอด
พระเกียรติจังหวัดอุทัยธานี โดยยึดมั่นพันธกิจ นางสาวบุศรา ทองไทย เชิงนโยบายของรัฐบาล หากต้องการผลักดันสินค้า
ส่งเสริมความรู้ พัฒนางาน สร้างอาชีพ พึ่งพาตนเองได้ ครูโรงเรียนห้วยคตพิทยาคม โอทอปสู่ต่างประเทศ ต้องมีการส่งเสริม และ
และมีความมั่นคง ท่ามกลางสังคมที่เปลี่ยนแปลง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรม สนับสนุนอย่างเป็นรูปธรรม”
และความท้าทายในการขับเคลื่อนเพื่อความ ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริม ด้าน นางสุพา ทิพกวีย์
ก้าวหน้าของประเทศไทย อาชีพทางการค้าในท้องถิ่น ตัวแทนศูนย์โอทอป
นายธัญพิสิษฐ์ สังข์ทอง กล่าวว่า “เดิมทีตนเป็นครู “กลุ่มทอผ้าต�าบลบ้านไร่”
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สอนคอมพิวเตอร์ และเพิ่งเริ่ม 1 ใน 50 หมู่บ้านที่ได้รับ
อบต.หนองนางนวล จ.อุทัยธานี สอนภาษาอังกฤษควบไปด้วย จึงต้องการความรู้เพื่อน�า คัดเลือกเป็นหมู่บ้านโอทอป
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมเชิง ไปสอนลูกศิษย์ ซึ่งเนื้อหาทางภาษาที่มหาวิทยาลัย นวัตวิถีระดับประเทศ
ปฏิบัติการ เรื่อง “การจัดท�า รามค�าแหงน�ามาบริการวิชาการฯครั้งนี้ เป็นประโยค ท�าหน้าที่เป็นจุดศูนย์กลาง
แผนยุทธศาสตร์พัฒนา ภาษาที่สามารถน�าไปใช้ได้เลย เช่น การค้าขาย กระจายงานให้กับชาวบ้าน และเป็นศูนย์กลางใน
ท้องถิ่นเพื่อรองรับนโยบาย การแนะน�าสถานที่ท่องเที่ยว รวมถึงการสื่อสาร การขายหน้าร้าน ออกบูธ และออนไลน์ โดยเน้น
Thailand 4.0” บอกว่าในยุคปัจจุบันเทคโนโลยี ออนไลน์ เป็นต้น” ผลิตสินค้าสีธรรมชาติ ควบคู่กับการผลิตตาม
เข้ามามีบทบาทและมีส่วนช่วยในการท�างาน รวมถึง ส่วนในแง่มุมของสินค้าท้องถิ่น รศ.ดร. ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เช่น เด็ก ผู้ชาย
การใช้ชีวิตประจ�าวันมากขึ้น ส�าหรับการปรับตัว วรัชยา ศิริวัฒน์ อาจารย์ประจ�าคณะรัฐศาสตร์ ผู้หญิง คนชรา เป็นต้น
เข้ากับยุคดิจิทัลของทาง อบต. มีการน�าสื่อเทคโนโลยี วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ “หมู่บ้านเราเป็นหมู่บ้านโอทอปนวัตวิถี
มาใช้ในการติดต่อสื่อสาร และใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง “โอทอปนวัตวิถีเพื่อ ที่รองรับนโยบายประเทศไทย 4.0 มีการพัฒนา
เพื่อลดการใช้ทรัพยากร อีกทั้งยังมีกิจกรรมสร้าง รองรับนโยบาย Thailand ต่อยอดจากสิ่งที่มีอยู่มาแปรรูปและผลิตตามออเดอร์
ความตระหนักรู้ให้ชาวบ้านมีการปรับตัวสู่ยุค 4.0” บอกว่า ‘โอทอป’ เป็น ของลูกค้า ซึ่งสร้างรายได้เสริมให้กับชาวบ้าน
ประเทศไทย 4.0 และคุ้นชินกับการใช้เทคโนโลยี สินค้าที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น ขอขอบคุณกิจกรรมบริการวิชาการฯของมหาวิทยาลัย
มากขึ้น เป็นการพัฒนาจากรากฐาน รามค�าแหง ในแง่มุมของการคิดสร้างสรรค์
“โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพฯ ให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมกับ การออกแบบ และเพิ่มมูลค้าสินค้าโอทอปของ
ของมหาวิทยาลัยรามค�าแหง ช่วยเสริมสร้างความรู้ โครงการของรัฐบาล ซึ่งท�าให้ชาวบ้านมีอาชีพ มีรายได้ ชุมชน ซึ่งสร้างรายได้ที่มั่นคงให้กับชาวอุทัยธานี
ความเข้าใจในการปรับตัวสู่ยุค 4.0 เพื่อให้ชุมชน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แต่จะเกิดความยั่งยืนได้ และจังหวัดใกล้เคียง”
ทุกหย่อมหญ้าได้เรียนรู้ และสามารถเดินหน้าไป ต่อเมื่อทุกภาคส่วนร่วมมืออย่างจริงจัง หน่วยงาน เมื่อสินค้าท้องถิ่นได้รับการสนับสนุนและ
พร้อมๆ กันได้อย่างมั่นคง” ภาครัฐรับนโยบายมาจัดท�าแผนหรือโครงการต่างๆ เสริมสร้างให้เกิดการผลิตอย่างมีคุณภาพแล้ว
ภาษาก็เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่มีความส�าคัญ ส่วนภาคเอกชนสร้างตลาดรองรับสินค้า การประชาสัมพันธ์ และการค้าขายบนโลกยุค
รศ.ณภาจรี นาควัชระ อาจารย์ประจ�าหลักสูตร “มหาวิทยาลัยรามค�าแหงจัดบริการ ดิจิทัล ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ชุมชนชาวอุทัยธานีให้
ภาษาอังกฤษ สถาบัน วิชาการและวิชาชีพฯเป็นปีที่ 6 แล้ว ช่วยท�าให้ ความสนใจ
การศึกษานานาชาติ อดีต โอทอปนวัตวิถีของชุมชนเกิดความยั่งยืน ชุมชน นางสาวปริศนา หู้โลหะ
คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ชาวอุทัยธานีได้รับความรู้ พัฒนาทักษะและ ครูธุรการโรงเรียนห้วยคต
วิทยากรกิจกรรมอบรม ประสบการณ์ต่างๆ น�าไปสู่การค้าขายสินค้าโอทอป พิทยาคม ผู้เข้าร่วมอบรม
ภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริม ในท้องถิ่น และขยายสู่การส่งออกต่างประเทศ เชิงปฏิบัติการ “การจัดท�า
อาชีพทางการค้าในท้องถิ่น ท�าให้ประเทศมีรายได้เพิ่ม เศรษฐกิจดีขึ้น สอดรับ สื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์”
กล่าวว่าในยุคที่สังคมสามารถ กับนโยบายประเทศไทย 4.0” บอกว่าอยากมีเทคนิคในการ
เชื่อมต่อกันได้ง่าย ภาษาซึ่งเป็นเครื่องมือในการติดต่อ รศ.ดร.รวิภา ธรรมโชติ จัดท�าสื่อออนไลน์ให้น่าสนใจ เพื่อน�าไปสอนนักเรียน
สื่อสารจึงมีความส�าคัญ จ�าเป็นต้องมีภาษากลาง อาจารย์ประจ�าคณะรัฐศาสตร์ อนาคตข้างหน้าก็มีแนวโน้มที่จะท�าธุรกิจส่วนตัว
เป็นตัวเชื่อมโยง และก�าหนดให้ภาษาอังกฤษเป็น วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งในโลกยุคปัจจุบันทุกคนสามารถติดต่อสื่อสาร
ภาษาที่ 2 และใช้เป็นภาษาราชการ ซึ่งไม่ว่าด้าน เรื่อง “โอทอปนวัตวิถีเพื่อ กันได้ง่ายผ่านโลกออนไลน์ การผลิตสื่อออนไลน์
การค้าขาย ธุรกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รองรับนโยบาย Thailand 4.0” จึงมีความส�าคัญกับสังคมยุคปัจจุบัน เพราะ
ต่างต้องมีภาษาเป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยง โดยเฉพาะ กล่าวว่าขณะนี้ประเทศไทย สื่อมีผลต่อการด�าเนินชีวิตและมุมมองของ
ชุมชนอาเซียน ซึ่งปัจจุบันเด็กไทยเริ่มเห็นความส�าคัญ ก�าลังก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 แต่ละคน
ของภาษามากขึ้น และเริ่มสนใจภาษาที่ 3 เช่น ซึ่งโอท็อปนวัตวิถีมีความสอดคล้องกับนโยบาย (อ่านต่อหน้า 7)