Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 47 วันที่ 4 - 10 มีนาคม 2562
P. 5

วันที่ ๔ - ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๒                             ข่าวรามคำาแหง                                                              ๕

           เศรษฐศาสตร์ 101






           คณะเศรษฐศาสตร์                          รศ.อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม
           ตอน                                                                  คณะมนุษยศาสตร์                               อาจารย์ตูซาร์ นวย

                    รถไฟฟ้าไม่ใช่คำาตอบสุดท้าย
                                                                                               การซื้อของที่ตลาด (3)

                  ใครที่เป็นแฟนประจ�ำของคอลัมน์ “เศรษฐศำสตร์ 101” ซึ่งจริง ๆ แล้วจะมี
           หรือเปล่ำก็ไม่รู้ อำจพอจะจ�ำได้ว่ำผมเขียนถึงเรื่องรถไฟฟ้ำซึ่งหมำยถึงยำนพำหนะที่     “ตลำดสด” ภำษำเมียนมำพูดว่ำ    [ต้ำง่ำเซ้] หมำยถึง “ตลำดเนื้อสด
           ขับเคลื่อนด้วยพลังไฟฟ้ำมำหลำยหนแล้ว ด้วยทัศนคติที่ไม่ค่อยชอบรถแบบนี้สักเท่ำไร  ปลำสด” แต่ก็มีผักสดขำยด้วย เช่นเดียวกับตลำดสดในประเทศไทย ประโยคตัวอย่ำง
           โดยเฉพำะเมื่อเปรียบเทียบกับรถที่ขับเคลื่อนด้วยพลังไฮโดรเจน และผมก็ออกจะรู้สึก  ในกำรซื้อเนื้อสดที่ตลำดเป็นภำษำเมียนมำมีดังนี้
           ผิดหวังอยู่บ้ำงที่กระแสของรถไฮโดรเจนช่ำงเงียบเหลือเกิน ทั้ง ๆ ที่ก็มีสำยกำรผลิต     ตัวอย่างบทสนทนา
           เชิงพำณิชย์ออกมำหลำยปีแล้ว
                  กระแสของรถพลังงำนไฟฟ้ำที่มำแรงมำกนั้นผมว่ำน่ำจะเป็นเพรำะสไตล์ธุรกิจ [เซ้แวตู]     [อะโย้ โทะท้ำแต่ แจะยีนโอน ชิล้ำ]
           เชิงรุกของอีลอน มัสก์ ที่โฆษณำรถยนต์ไฟฟ้ำยี่ห้อ “เทสลำ” จนยอดสั่งจองล้นหลำม ลูกค้ำ       “มีอกไก่เลำะกระดูกไว้ไหม”
           ผลิตส่งไม่ทัน  (ถ้ำใครไม่รู้จักว่ำอีลอน  มัสก์คือใครก็ให้นึกถึงคนที่สร้ำงยำนด�ำน�้ำไปช่วย
           เด็กทีมหมู่ป่ำที่ติดถ�้ำเมื่อปีที่แล้ว...แต่ไม่ได้ใช้นั่นแหละครับ) นอกจำกนั้นก็ยังมีกระแส [เซ้เย้ำตู]    [ชิบำแด, แบเลำะโพ้ ยูชินตะแล้]
           ต่อต้ำนกำรใช้เชื้อเพลิงจำกฟอสซิล (ก็คือน�้ำมันและก๊ำซ) ซึ่งว่ำเป็นสำเหตุของภำวะโลก คนขำย      “มี, อยำกได้สักเท่ำไรล่ะ”
           ร้อนและยังเป็นพลังงำนที่ใช้แล้วสูญสลำยไป ไม่สำมำรถสร้ำงขึ้นใหม่ได้ด้วย
                  กระแสต่อต้ำนรถยนต์ที่ใช้น�้ำมันยิ่งมีมำกขึ้นอีกในช่วงปลำยเดือนมกรำคม  [เซ้แวตู]     [แจะยีนโอน เล่ ช้ำนแป้ ยูแม]

           ต่อเนื่องถึงเดือนกุมภำพันธ์ของปีนี้ซึ่งเกิดภำวะที่เขำเรียกกันว่ำลมสงบ คือไม่มีลมพัด ลูกค้ำ      “จะเอำอกไก่แค่ 4 ชิ้น”
           แรงพอที่จะน�ำฝุ่นควันให้กระจำยตัวออกไปได้ ควันทั้งจำกรถยนต์ เครื่องจักร กำรเผำป่ำ
           เผำฟำงข้ำว เผำซังอ้อย หรือบำงคนเหมำรวมไปถึงกำรปิ้งย่ำงหมูกระทะด้วยนั้น   [เซ้เย้ำตู]    [บำทะยูโอ้นมะแล้]
           เมื่อรวมตัวกับฝุ่นละอองในอำกำศจึงปกคลุมจนดูเหมือนหมอกอยู่ทั่วไป ฝุ่นควันเหล่ำนี้  คนขำย      “จะเอำอะไรเพิ่มอีกไหม”
           ซึ่งว่ำกันว่ำเป็นฝุ่นขนำดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) คือฝุ่นที่เล็กกว่ำ 1 ใน 25
           ส่วนของเส้นผ่ำศูนย์กลำงของเส้นผมมนุษย์ สำมำรถเข้ำสู่ระบบทำงเดินหำยใจ ถุงลม  [เซ้แวตู]     [เตำปำนอะแลไป่ ชี้แป้ นะ กีโล เป่ปำ, อะยแว จี้จี้โก ยเว้เป้นอ]
           ในปอดและกระแสเลือดโดยตรง เพิ่มควำมเสี่ยงต่อกำรเป็นโรคเรื้อรังเป็นอันตรำยต่อ  ลูกค้ำ      “เอำปีกส่วนกลำงอย่ำงเดียว 2 กิโลกรัม, ช่วยเลือกชิ้นใหญ่ๆ ให้ด้วยนะ”
           สุขภำพ และเนื่องจำกข้อมูลสถิติบอกว่ำฝุ่นควันเหล่ำนี้มีสำเหตุส่วนใหญ่มำจำกรถยนต์
           ที่ใช้น�้ำมันดีเซล จึงท�ำให้มีผู้เสนอให้รัฐบำลท�ำเป็นนโยบำยที่ชัดเจนเหมือนกับประเทศ  [เซ้เย้ำตู]    [แจะเปำโล้นกอ ยูโอ้นมะล้ำ บยะ]
           พัฒนำแล้วหลำย ๆ ประเทศ ที่ก�ำหนดเวลำว่ำจะให้รถที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลหมดไปจำก  คนขำย      “น่องไก่ล่ะ จะเอำด้วยไหมครับ”
           ประเทศเมื่อใด
                  แม้ว่ำรถที่ใช้น�้ำมันเบนซินจะไม่ได้ก่อให้เกิดควันพิษระดับ PM 2.5 เหมือน  [เซ้แวตู]     [มะยูต้อบู้, อ่ำโล้น แบเลำะจะตะแล้ ชิ่น]
           เครื่องยนต์ดีเซล แต่ก็มีหลำยชำติที่ก�ำหนดเป็นนโยบำยและช่วงเวลำแน่นอนว่ำจะไม่  ลูกค้ำ      “ไม่เอำละ, ทั้งหมดต้องจ่ำยเท่ำไรคะ”
           ใช้รถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงำนจำกฟอสซิลอีกต่อไป  ไม่ว่ำจะเป็นน�้ำมันดีเซลหรือ
           เบนซินก็ตำม โดยจะให้ใช้รถที่ขับเคลื่อนด้วยพลังไฟฟ้ำแทน แต่ที่ผมยังฝืนกระแสไป  [เซ้เย้ำตู]    [แจะยีนโอน แน่ เตำปำนอะแลไป่กะ โต้นยำชิแซ่ง่ำ บะ จะปำแด]
           โต้แย้งว่ำรถไฟฟ้ำไม่ใช่ค�ำตอบสุดท้ำยนั้น เพรำะมองเห็นปัญหำหลำยอย่ำงที่พวกเกลียด
           เครื่องยนต์ใช้น�้ำมันอำจมองข้ำมไป                                   คนขำย      “อกไก่กับปีกกลำง เป็น 385 บำทครับ”
                  ปัญหำประกำรแรกก็คือรถยนต์ไฟฟ้ำนั้นขับเคลื่อนด้วยแบตเตอรี่ ซึ่งอัดพลังงำน     ค�าศัพท์จากบทสนทนา
           ไฟฟ้ำเอำไว้ เมื่อวิ่งไปเรื่อย ๆ พลังงำนไฟฟ้ำในแบตเตอรี่ก็ลดลงจนถึงระดับที่ต้องชำร์จใหม่         [แจะ] ไก่          [อะ แล ไป่]  ส่วนกลำง
           เช่นเดียวกับแบตเตอรี่ของโทรศัพท์มือถือที่เรำต้องชำร์จอยู่เรื่อย ๆ นั่นแหละครับ ปัญหำ    [แจะ ยีน โอน]  อกไก่          [อะ ยแว]  ขนำด, วัย
           ที่ผมว่ำนี้ไม่ได้อยู่ที่กำรชำร์จแม้จะต้องใช้เวลำนำนกว่ำกำรเติมน�้ำมันมำกก็ตำม  ที่ผมว่ำ         [อะ โย้]  กระดูก, ก้ำง         [จี้จี้]    ใหญ่ๆ
           เป็นปัญหำนั้นก็คือไฟฟ้ำที่เอำมำใช้ชำร์จแบตเตอรี่ต่ำงหำก เพรำะในประเทศเรำและ     [โทะ ท้ำ]  เอำออกไว้           [ยเว้เป้นอ]  เลือกให้
           อีกหลำย ๆ ประเทศนั้น ผลิตพลังงำนไฟฟ้ำจำกเชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งประเภทน�้ำมัน และก๊ำซ-              [ชิ]  มี, มีอยู่    [แจะ เปำ โล้น] น่องไก่
           ธรรมชำติมำเสริมไฟฟ้ำที่ผลิตจำกพลังน�้ำ พลังลม และพลังแสงแดดด้วยกำรใช้รถยนต์ไฟฟ้ำ              [โพ้]  คุณค่ำ, รำคำ, มูลค่ำ    [อ้ำ โล้น]  ทั้งหมด
           จึงไม่ได้ช่วยลดภำวะโลกร้อนจำกกำรเผำไหม้เชื้อเพลิงจำกฟอสซิลได้สักเท่ำไหร่         [ทะ]  เพิ่มอีก                [จะ] ค่ำใช้จ่ำยทั้งหมดที่จะ
                  แต่ปัญหำที่ผมว่ำร้ำยแรงกว่ำนั้นอยู่ที่ตัวแบตเตอรี่เอง ซึ่งวัสดุส�ำคัญที่ต้องใช้ใน       [เตำ ปำน]  ปีก                    ต้องจ่ำย
           กำรผลิต คือแร่โคบอลท์ และลิเธียม ซึ่งเป็นแร่ที่หำยำก โดยแหล่งที่มีมำกคือ อเมริกำใต้      ในบทสนทนำประโยคค�ำถำมที่ใช้ว่ำ       [แบเลำะโพ้
           ออสเตรเลีย แอฟริกำ และแหล่งใหญ่ที่สุดในเอเชียนั้นอยู่ที่จีน ปัญหำที่ผมว่ำส�ำคัญที่สุด
           ก็คือเรื่องสิ่งแวดล้อม เพรำะกำรท�ำเหมืองเหล่ำนี้ก่อให้เกิดผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมไม่น้อย  ยูชิน ตะแล้] แปลว่ำ “อยำกได้สักเท่ำไรล่ะ” แปลตำมภำษำเมียนมำตรงๆ ว่ำ
           ไปกว่ำกำรขุดเจำะน�้ำมันหรือก๊ำซธรรมชำติ รถยนต์ไฟฟ้ำจึงไม่ได้เป็นรถที่ใช้พลังงำน  “เท่ำไร มูลค่ำ เอำ อยำก” ในประโยคนี้ ค�ำว่ำ   [โพ้] แปลตรงได้ว่ำ “คุณค่ำ, รำคำ,
           สะอำดอย่ำงแท้จริงนอกจำกนั้นต้นทุนกำรผลิตแบตเตอรี่เพื่อใช้ในรถยนต์นี้ยังค่อนข้ำงสูง   มูลค่ำ” นี้ มำเติมหลังค�ำถำม    [แบเลำะ] แปลว่ำ “เท่ำไร” ตำมด้วย
           เป็นผลให้รำคำรถยนต์ไฟฟ้ำต้องสูงตำมไปด้วย ปัญหำที่ตำมมำอีกอย่ำงหนึ่งก็คือแบตเตอรี่  ค�ำกริยำ    [ยูชิน] แปลว่ำ “อยำกได้รับ, อยำกเอำ” แล้วปิดท้ำยประโยคด้วย
           มีอำยุใช้งำนไม่เกิน 10 ปี ซึ่งแปลว่ำรำว ๆ 10 ปีเรำก็จะต้องเปลี่ยนรถใหม่กันได้แล้ว เพรำะ  ส่วนท้ำยของวลีค�ำถำมว่ำ    [ตะแล้]
           ดีกว่ำเสียสตำงค์เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ มิหน�ำซ�้ำแบตเตอรี่ที่หมดอำยุก็ก่อให้เกิดมลพิษอีก     ยกตัวอย่ำง เช่น
           จะไปรีไซเคิลก็มีต้นทุนและต้องควบคุมไม่ให้เกิดมลภำวะเช่นกัน เรื่องนี้แม้จะยังไม่เกิด  1.         [เซ้กะ แบเลำะ เว้ ตะแล้] “ตลำดไกลแค่ไหน”
           แต่ผมยังจ�ำข่ำวเมื่อไม่นำนมำนี้ได้ ที่ต�ำรวจไปทลำยแหล่งรีไซเคิลซำกคอมพิวเตอร์และ  2.            [ทะบี แบเลำะ เป่ยะ ตะแล้] “รำคำผ้ำถุงเท่ำไหร่”
           อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่แอบส่งเข้ำมำในไทย เพรำะกระบวนกำรรีไซเคิลก่อให้เกิด  3.                     [ทะมี้นโก แบเลำะ แท่ยะ มะแล้]
           มลภำวะร้ำยแรง และยังเป็นภัยต่อสุขภำพของชุมชนโดยรอบยิ่งกว่ำฝุ่นPM 2.5 เสียอีก                                           “จะต้องใส่ข้ำวในปริมำณเท่ำไร”
                  ทำงเลือกที่จะไม่ใช้รถไฟฟ้ำก็คือรถที่ใช้พลังงำนไฮโดรเจนซึ่งบำงประเทศในยุโรป  4.            [ไป้ซำน แบเลำะ จำน เต้แล้] “ยังเหลือเงินเท่ำไหร่”
           เขำมีรถไฟที่ขับเคลื่อนด้วยพลังไฮโดรเจนกันแล้ว ผมถึงได้ยืนยันว่ำรถไฟฟ้ำไม่ใช่ค�ำตอบ 5.              [พะย้ำมำ แบเลำะ ลูแค่ ตะแล้] “ที่เจดีย์
           สุดท้ำย แต่จะเป็นรถพลังไฮโดรเจน หรือไม่นั้นคงต้องรอดูกันต่อไป...หวังว่ำคงไม่นำนเกินรอ บริจำคเงินมำเท่ำไร”
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10