Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 35 วันที่ 10 - 16 ธันวาคม 2561
P. 3

วันที่ ๑๐ - ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๑                           ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓



           อดีตรองนายกฯ ชี้ 3 ประเด็น 9 ความท้าทาย เมื่อไทยรับไม้ต่อประธานอาเซียน ปี 62




                   อดีตรองนายกรัฐมนตรี ชี้ทิศทาง 3 สิ่งส�าคัญที่โลกจับจ้องกับ

             9 ความท้าทายที่ประเทศไทยต้องเผชิญ เมื่อต้องนั่งแท่นเป็นประธาน
            อาเซียนในปี 2562 ในโอกาสปาฐกถาพิเศษ “โอกาสและความท้าทาย

            ของประเทศไทยในฐานะประธานอาเซียน” จัดโดยคณะรัฐศาสตร์
            มหาวิทยาลัยรามค�าแหง เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายนที่ผ่านมา

            ณ อาคารศรีศรัทธา ชั้น 12


                  ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ตะวันตกที่สนับสนุนการเปิด
           ประธานคณะมนตรีเพื่อสันติภาพและความปรองดอง เสรีกลายเป็นประเทศ
           แห่งเอเชีย อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการ ที่บอกว่า “ไม่เอาการเปิดเสรี” เกิดกระแสแอนตี้  ภูมิภาค (RCEP) และความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้า
           กระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่าหลังจากการประชุม Globalizations ขณะที่ประเทศอาเซียน จีน อินเดีย ส�าหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)
           ผู้น�าอาเซียนที่ประเทศสิงคโปร์ที่ผ่านมา ประเทศไทย ที่ค่อนข้างหวั่นเกรงโลกาภิวัตน์ กลับเดินหน้าเปิดเสรี ต้องศึกษาว่าประเทศไทยจะได้เปรียบหรือเสียเปรียบ
           จะได้รับไม้ต่อจากสิงคโปร์ในการเป็นประธานอาเซียน ต่อไป นอกจากนี้การเกิดสงครามการค้าระหว่างจีนกับ อย่างไร โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญระดมความคิดแล้วค่อย
           ในปีหน้า โดยนายกรัฐมนตรีได้ประกาศแนวคิดของไทย อเมริกา ท�าให้ประเทศอย่างเราๆ ที่อยู่ได้ด้วยห่วงโซ่ มาฟอร์มจุดยืนเจรจา และที่ส�าคัญเราต้องมีความพร้อม

           ในการเป็นประธานอาเซียนว่าจะร่วมมือกันบนฐานของ อุปทานต้องตกใจ เพราะสงครามการค้านี้ส่งผลกระทบ ต่อกระแสที่เปลี่ยนจากพหุภาคีนิยมเป็นเอกภาคีนิยม
           หลักการ 3M คือ ความไว้เนื้อเชื่อใจ (Mutual Trust) ต่อห่วงโซ่อุปทานที่จะหยุดชะงักลง และ            2) ปัญหารัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา และชาว
           ความเคารพซึ่งกันและกัน (Mutual Respect) และ          3) การขาดพหุภาคีนิยม                  โรฮิงญา 2-3 แสนคน ซึ่งไม่ใช่ความขัดแย้งทางศาสนา
           ผลประโยชน์ร่วมกัน (MutualBenefit)                    “หากภายใน 1 ปีแห่งการเป็นประธานอาเซียน แต่เป็นความเกลียดชังระหว่างชุมชน ซึ่งขณะนี้เมียนมา
                  และอีกแนวคิดของไทยคือ “ร่วมมือ ร่วมใจ  ของไทยไม่สามารถสะท้อนแนวทางการเผชิญหน้ากับ ถูกสังคมระหว่างประเทศกดดัน ประธานอาเซียน
           ก้าวไกล ยั่งยืน” (Advancing Partnership for Sustain- ประเด็นร้อนแรงระดับโลกทั้ง 3 เรื่องนี้ได้ อาเซียนจะ คนถัดไปจึงต้องรับหน้าที่หนักกว่าที่สิงคโปร์เคยรับ
           ability) โดยการก้าวไกล คือการก้าวสู่อนาคตอย่างมีพลวัต  ไม่มีความหมายในสายตาโลก ทั้งๆ ที่อาเซียนทั้ง 10 อาเซียนจะต้องเป็นสะพานเชื่อมเมียนมากับตะวันตก
           ใช้ประโยชน์จากวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีจากการ ประเทศมีทุกศาสนา เชื้อชาติ และทุกระบบการปกครอง ผลักดันให้เมียนมามีโรดแมปของการแก้ปัญหา
           ปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 เพื่อน�าไปสู่การเป็นดิจิทัล ดังนั้นอาเซียนจึงควรเป็นองค์กรที่เป็นสะพานของ รัฐยะไข่ที่รากเหง้าของปัญหา และมีโรดโชว์เพื่ออธิบาย

           อาเซียน ส่วนการร่วมมือ ร่วมใจ เป็นการส่งเสริมหุ้นส่วน ภูมิภาค  แสดงให้เห็นว่าเราสามารถน�าพาอาเซียน ถึงวิธีการและทิศทางในการแก้ปัญหา
           ภายในอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาและประชาคมโลก เดินหน้าไปสู่การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้อย่างมั่นคง        3) ปัญหาทะเลจีนใต้ ที่ต้องผลักดันให้อาเซียน
           โดยมีอาเซียนเป็นแกนกลาง เชื่อมโยงยุทธศาสตร์  และสามารถช่วยหาทางออกได้ เชื่อมความแตกต่าง  กับจีนท�างานร่วมกันโดยไม่มีความขัดแย้งเรื่องเส้นเขตแดน
           เชื่อมโยงทางกายภาพในภูมิภาค เป็นอาเซียนไร้รอยต่อ สร้างความปรองดอง  และสามารถดูแลผลประโยชน์ เพียงอย่างเดียว โดยเฉพาะการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ
           ด้านความยั่งยืน จะสร้างความยั่งยืนเติบโตทุกมิติ  ของคนอาเซียนได้เป็นอย่างดี”               ทางทะเล จีน เวียดนาม บรูไน ฟิลิปปินส์ที่อ้างสิทธิ์
           เศรษฐกิจสีเขียว การพัฒนาอย่างยั่งยืน ความเป็นอยู่    นอกจากนี้ อดีตรองนายกรัฐมนตรี กล่าวถึง ทับซ้อนกัน หากเกิดการปะทะกันจะส่งผลกระทบต่อ
           และสุขภาพของผู้สูงวัย ส�าหรับสิ่งที่ประเทศไทยต้องให้ โอกาสและความท้าทาย 9 ประการของการเป็นประธาน ความมั่นใจต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้น

           ความส�าคัญ ในฐานะที่ก�าลังจะก้าวสู่การเป็นประธาน อาเซียนในปีถัดไปดังนี้                    อาเซียนกับจีนต้องร่วมมือกันท�ากิจกรรมสร้างสรรค์
           อาเซียน ศ.(พิเศษ) ดร.สุรเกียรติ์ เผยว่าแนวคิดของ     1) เราต้องสร้างอาเซียนให้มีความพร้อมส�าหรับ ภายใต้การน�าของประเทศไทย
           ประเทศไทยต้องสะท้อนสิ่งที่โลกก�าลังเผชิญอยู่ให้ได้  อนาคต ทั้งการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดของ    4) ปัญหาความร่วมมือต่อต้านภัยพิบัติ
           ซึ่งเป็นประเด็นใหญ่ที่ถูกพูดถึงมาก คือ        เทคโนโลยีในยุคอุตสาหกรรม 4.0 คนรุ่นใหม่ในอาเซียน    5) ปัญหาในการส่งเสริมประชาธิปไตย ซึ่ง
                                                         ใช้เวลา 6 ชั่วโมงอยู่หน้าสมาร์ทโฟน กระบวนการผลิต เสาหลักการเมืองและความมั่นคงเน้นให้ส่งเสริม
                                                         และการบวนการตลาดมีความเปลี่ยนแปลง การใช้งาน ประชาธิปไตยในอาเซียน ขณะที่ 10 ประเทศสมาชิก
                                                         ทุกอย่างผ่านแอปพลิเคชัน สังคมอัจฉริยะเกิดขึ้นกับ มีการปกครองที่หลากหลาย อีกทั้ง
                                                         ทุกคน ขณะที่การปฏิรูปการศึกษาอาจยังไม่เพียงพอ       6) ปัญหาในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ซึ่งทั้ง
                                                         ดังนั้นต้องยกเครื่อง สร้างคนเป็นผู้ใช้นวัตกรรม  2 ปัญหานี้เป็นสิ่งที่ขัดแย้งกับหลักการส�าคัญของอาเซียน

                                                         การศึกษาต้องไม่ใช่แค่ระดับขั้นประถม มัธยม อุดมศึกษา คือ การไม่แทรกแซงกิจการภายใน ดังนั้นเราต้องรู้จัก
                                                         แต่ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งหลักสูตรระยะสั้นเป็นค�าตอบ แทรกแซงอย่างสร้างสรรค์
                  1) เทคโนโลยีที่ก้าวกระโดด และการเปลี่ยนแปลง ในการเตรียมพร้อมเพื่อมุ่งสู่อนาคต สร้างคนให้เป็น    7) ปัญหาในการปฏิบัติตามพันธกรณีทาง
           ภายใต้การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 หรือยุค ผู้ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี                    เศรษฐกิจของอาเซียน
           อุตสาหกรรม 4.0 นโยบายประเทศไทย 4.0 ซึ่งเป็นผล        รวมถึงด้านความพร้อมในการท�างานภายใน          8) ปัญหาการไม่กระชับความไว้วางใจและ
           จากงานวิจัยในยุโรปเกิดขึ้นเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว เช่น  กลุ่มอาเซียน ซึ่งกระบวนการติดต่อสื่อสารในอาเซียน ความแน่นแฟ้นในเสาหลักการเมืองความมั่นคง
           ปัญญาประดิษฐ์ Internet of Things กลายเป็นสังคม ยังค่อนข้างล้าหลัง ขาดความรู้สึก we are ASEAN.  และเสาหลักสังคมวัฒนธรรม

           ยุคดิจิทัล ขณะที่หลายประเทศในเอเชียและอาเซียน ASEAN is us. เมื่อเกิดภัยพิบัติในประเทศเพื่อนบ้าน     9) ความท้าทายจากประเทศไทยเอง ที่จะท�า
           ยังอยู่ในยุคอุตสาหกรรม 1.0-3.0 แรงงานส่วนใหญ่ เราแค่รับรู้ แต่ยังไม่คิดแก้ปัญหาร่วมกัน ดังนั้นต้อง อย่างไรให้คนไทยมีองค์ความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้าน
           เติบโตและเรียนจบมาในยุคที่นวัตกรรมเหล่านี้ยังไม่เกิด มองหาเส้นทางที่จะท�าให้อาเซียนเป็นหนึ่ง แก้ปัญหา มากขึ้น และหวังว่าความแตกแยกทางการเมืองซึ่งเคย
           หากเราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ต้องหาวิธีการที่จะเดินไป ร่วมกัน ยุทธศาสตร์ร่วมกัน และเดินหน้าไปพร้อมกัน  น�าไปสู่การแตกแยกทางสังคม จะไม่เป็นอุปสรรคที่
           พร้อมๆ กันได้                                 อีกทั้งด้านความพร้อมต่อการรับมือโลกภายนอกที่ คนไทยทุกภาคส่วนจะรวมพลัง เพื่อให้คนไทยทุกคน
                  2) การเปลี่ยนแปลงทางยุทธศาสตร์ทาง การแข่งขันด้านยุทธศาสตร์ของมหาอ�านาจเกิดขึ้น ที่เป็นประธานอาเซียนสามารถน�าอาเซียนไปสู่การเป็น
           เศรษฐกิจและสังคมการเมืองของโลกที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว มีเขตการค้าเสรียักษ์ใหญ่ก�าลังเกิดขึ้น อาเซียนที่มีความพร้อมส�าหรับอนาคตได้
           อย่างรวดเร็ว โดยในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ประเทศทาง 2 ขั้ว คือความตกลงพัฒนามิตรทางเศรษฐกิจระดับ
   1   2   3   4   5   6   7   8