Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 7 วันที่ 28 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2561
P. 6

๖                                                       ข่าวรามคำาแหง                              วันที่ ๔ - ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑












           อาจารย์ภัทระ  ลิมป์ศิระ                                                                                                        คณะนิติศาสตร์

                      สนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดนของอาเซียน



                      (ASEAN Treaty on Extradition) (ตอนจบ)





                จากที่อธิบายในฉบับก่อนถึงหลักการ                                                            แนวทางที่ผู้วิจัยได้ศึกษาถึงหลักการ

          ส่งผู้ร้ายข้ามแดน และพัฒนาการทางประวัติศาสตร์                                               ส่งผู้ร้ายข้ามแดนจากกฎหมายแม่แบบของ
          ของการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ในฉบับนี้ซึ่งเป็นตอนจบ                                              สหประชาชาติ  (United  Nations  Model  Treaty

          ของเรื่องนี้ ผู้เขียนจะขออธิบายเนื้อหาในส่วนของ                                             on Extradition) มาใช้เป็นหลักในการพิจารณา

          การพยายามยกร่างสนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดน                                                ประกอบกับสนธิสัญญาในระดับภูมิภาคที่มี

          ของอาเซียน                                                                                  อยู่ในปัจจุบัน  สนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
                รัฐสมาชิกของอาเซียนได้เล็งเห็นปัญหา                                                   ของสหภาพยุโรป  (European  Convention  on

          ของความแตกต่างในการส่งผู้ร้ายข้ามแดน                                                        Extradition) และพิธีสารเพิ่มเติมฉบับที่ 1 (Additional

          ของรัฐสมาชิกมาตั้งแต่การประชุมที่บาหลี                                                      Protocol  to  the  European  Convention  on

          ในปี ค.ศ. 1976 ปรากฏตามปฏิญญาว่าด้วย                                                        Extradition)  ค.ศ.  1979  และพิธีสารฉบับที่  2
          ความร่วมมืออาเซียน  (Declaration  of  ASEAN                                                 (Second Additional Protocol to the European

          Concord) ที่ระบุว่าอาเซียนจะท�าการยกร่างสนธิสัญญา                                           Convention on Extradition) ค.ศ. 1983 กับ

          การส่งผู้ร้ายข้ามแดนในอาเซียน  จวบจนกระทั่ง                                                 สนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดนของรัฐอเมริกา
          ถึงยุคของการเกิดเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งแผนงาน                                               (Inter-American  Convention  on  Extradition)

          การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน                                               ค.ศ.  1981  มาใช้เป็นตัวเปรียบเทียบ  รวมไปถึง

          (ASEAN  Political-Security  Community  Blueprint)                                           หลักการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตามพลวัต (Dynamic)
          ได้ระบุให้รัฐสมาชิกร่วมกันพัฒนาสนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดน  ของการพัฒนากฎหมายระหว่างประเทศ  ประกอบกับค�านึงถึงอัตลักษณ์

          ในอาเซียนขึ้น  ประกอบกับการที่รัฐสมาชิกอาเซียนได้ร่วมกันลงนาม  และเอกลักษณ์ทางกฎหมายของอาเซียน

          ในกฎบัตรอาเซียนจึงต้องยึดถือตามหลักนิติธรรม (Rule of Law) ซึ่ง             ผู้วิจัยจึงพบว่าอุปสรรคของร่างสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน

          เปลี่ยนอาเซียนให้เป็นองค์กรที่ใช้กฎหมายเป็นหลัก (Rules-Based Organization)  ส�าหรับในภูมิภาคอาเซียนมิใช่เกิดจากข้อขัดข้องทางกฎหมายแต่ประการใด

          จึงไม่อาจอาศัยเพียงนโยบายที่แปรเปลี่ยนไปตามสภาวะของสังคม  เนื่องจากสามารถน�ารูปแบบข้อยกเว้นเรื่องความผิดซ�้าตามหมายจับ
          ระหว่างประเทศต่อไป                                                   ของยุโรปในบางประเภทของอาชญากรรมมาปรับใช้กับอาเซียน

                นอกจากนี้ ตั้งแต่ในที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านกฎหมาย (ASEAN  เพื่อแก้ปัญหาความแตกต่างของฐานความผิดที่แตกต่างกันของ

          Law Ministers’ Meeting: ALAWMM) ครั้งที่ 6 เมื่อปี ค.ศ. 2005   รัฐสมาชิกดั่งเช่นที่สหภาพยุโรปปรับใช้และประสบคววามส�าเร็จในการ
          ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ได้เสนอให้มีการจัดตั้งคณะท�างานว่าด้วย ปราบปรามอาชญากรรม อีกทั้ง หลักเกณฑ์และมาตรฐานสากลในประเด็นนี้

          สนธิสัญญาแม่แบบส่งผู้ร้ายข้ามแดนของอาเซียน  (Working  Group  on  Model  มีรากฐานที่ตกผลึกเป็นที่ยอมรับแล้ว แต่องค์ประกอบของความส�าเร็จ

          ASEAN Extradition Treaty) ขึ้นมา เพื่อพัฒนาความร่วมมือทางด้านกฎหมาย ที่ขาดหายไป  คือ  ความมุ่งมั่นในทางการเมืองระหว่างประเทศของบรรดา
          ระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียนขึ้น โดยท�าหน้าที่ศึกษาและจัดท�าสนธิสัญญา รัฐสมาชิกอาเซียนที่จะสงวนจุดต่างและแสวงหาจุดร่วมภายใต้วิถีอาเซียน

          การส่งผู้ร้ายข้ามแดนของอาเซียนขึ้น  หากแต่ความก้าวหน้าของประเด็นนี้ (ASEAN Way) มากกว่า ซึ่งเป็นเหตุผลซ�้าๆ เดิมๆ ส�าหรับอุปสรรคในการ

          ยังคงอยู่ในระหว่างด�าเนินการจวบจนปัจจุบัน                            แก้ไขปัญหาต่างๆ ในอาเซียน ถึงกระนั้นก็ตาม วิถีอาเซียนแม้จะเป็นหลักการ

                ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการที่อาเซียนจะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน  ที่ร่วมกันป้องกันมิให้อาเซียนมีการเปลี่ยนแปลง  อันถือได้ว่าเป็นอัตลักษณ์
          จึงจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะด�าเนินการพัฒนาความร่วมมือทางด้านกระบวนการยุติธรรม  ของอาเซียนโดยแท้จริง แต่ก็เป็นสาเหตุที่ท�าให้อาเซียนยังคงด�ารงอยู่ใน

          ควบคู่ไปด้วย โดยในบรรดาสนธิสัญญาต่างๆ อยู่ในระหว่างการเจรจา  ปัจจุบันเช่นกัน

          สมควรที่จะหยิบเอาสนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดนมาพิจารณาเป็นอันดับแรก       หมายเหตุ  บทความนี้มาจากโครงการวิจัยชื่อ  “สนธิสัญญาการส่ง

          เนื่องจากเป็นกรณีเร่งด่วน  เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้กระท�าผิดใช้เส้นสมมุติที่เรียกว่า  ผู้ร้ายข้ามแดนของอาเซียน” โดยได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย-
          พรมแดนเป็นข้ออ้างในการหลบหนีจากกระบวนการยุติธรรม                     รามค�าแหง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11