Page 7 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 7 วันที่ 28 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2561
P. 7

วันที่ ๒๘ พฤษภาคม - ๓ มิถุนายน ๒๕๖๑                     ข่าวรามคำาแหง                                                               ๗













           อาจารย์ภัทระ  ลิมป์ศิระ                                                                                                        คณะนิติศาสตร์

              สนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดนของอาเซียน (ASEAN Treaty on Extradition) (ตอนแรก)





                การส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ การที่รัฐหนึ่งส่งบุคคลผู้กระทำาความผิด

          หรือที่ต้องหากระทำาผิดของตนให้แก่อีกรัฐหนึ่ง โดยอาศัยเหตุที่ว่า รัฐนั้น
          มีอำานาจที่จะพิจารณาลงโทษผู้กระทำาผิดที่ได้เกิดขึ้นในรัฐที่ร้องขอตัวมา ทั้งนี้

          เพื่อความร่วมมือช่วยเหลือกันในการปราบปรามอาชญากรรม เพื่อผดุงไว้
          ซึ่งความยุติธรรมและความสงบของบ้านเมือง  เพื่อเป็นการแสดงอัธยาศัยไมตรี

          ระหว่างประเทศ และเพื่อปลีกตัวผู้กระทำาผิดออกไปจากประเทศของตน

          ทั้งสี่ประการนี้เป็นมูลฐานสำาคัญของการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ทั้งฝ่ายรัฐที่มีคำาขอ
          และทางฝ่ายรัฐที่รับคำาขอ  ซึ่งการส่งผู้ร้ายข้ามแดนนั้นเป็นเรื่องที่ปฏิบัติกัน    ยุคที่  1  เป็นช่วงระหว่างตั้งแต่  ค.ศ.  1700  -  1800  เป็นยุคของการ

          มาเป็นเวลานานแล้วตั้งแต่สมัยอียิปต์  โดยเป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศอียิปต์  ส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและศาสนา

          กับ ฮิททีทีส และมีการบันทึกสลักอักษรเฮียโรกราฟฟิค ไว้ที่ผนังของวิหาร      ยุคที่ 2 เป็นช่วงระหว่าง ค.ศ. 1800 - 1833 เป็นยุคของการทำาสนธิสัญญา
          อัมมอนแห่งคานัค อันถือเป็นจุดเริ่มต้นของสนธิสัญญาว่าด้วยการส่ง  เกี่ยวกับความผิดทางการทหาร
          ผู้ร้ายข้ามแดน                                                            ยุคที่ 3 เป็นช่วงระหว่าง ค.ศ. 1833 - 1948 เป็นยุคของการยับยั้งและ

                โดยการที่ร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนนี้มีขึ้นเนื่องจากมีหลักกฎหมาย  ปราบปรามอาชญากรรม

          ระหว่างประเทศอยู่ว่า ผู้กระทำาความผิดต้องได้รับการลงโทษ โดยรัฐที่ตนหลบภัย      ยุคที่ 4 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 เป็นต้นมา เป็นยุคของการวิวัฒนาการ
          หรือต้องถูกส่งตัวไปให้รัฐที่สามารถและจะลงโทษบุคคลนั้น รัฐที่สามารถ   ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนและกระบวนการอันมิชอบด้วยกฎหมายตาม

          จะลงโทษผู้กระทำาความผิดได้ หมายถึง รัฐที่ใช้อำานาจลงโทษผู้กระทำาความผิด   หลักกฎหมายระหว่างประเทศ
          ตามหลักดินแดน กล่าวคือ ไม่ว่าบุคคลใดเข้ามากระทำาความผิดภายในอาณาเขตของรัฐ      โดยจุดเริ่มต้นของความร่วมมือระหว่างประเทศในการปราบปราม

          รัฐย่อมมีอำานาจลงโทษผู้กระทำาความผิดตามหลักสัญชาติกล่าวคือ ไม่ว่าบุคคลใด   อาชญากรรมในยุคใหม่มีมาตั้งแต่เริ่มความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการ
          เข้ามากระทำาความผิดภายในอาณาเขตของรัฐ  รัฐย่อมมีอำานาจพิจารณาพิพากษา  ในสมัยช่วงกลางศตวรรษที่ 18 การส่งผู้ร้ายข้ามแดนเป็นเรื่องของผู้ลี้ภัย

          และลงโทษบุคคลนั้นได้ และรัฐที่ใช้อำานาจลงโทษผู้กระทำาความผิดตาม      ทางการเมืองมากกว่าผู้กระทำาผิดตามกฎหมายจริงๆ  ต่อมาในยุคหลังของ

          หลักสัญชาติกล่าวคือ  รัฐแต่ละรัฐจะมีอำานาจเหนือบุคคลที่มีสัญชาติของรัฐนั้น   ศตวรรษที่ 18 ประชาชนในประเทศต่างๆ มีการติดต่อและดำาเนินธุรกิจต่างๆ
          ไม่ว่าบุคคลนั้นจะไปกระทำาความผิดภายนอกหรือภายในอาณาเขตของรัฐ         ร่วมกันมากขึ้น ก่อให้เกิดการเดินทางไปมาระหว่างประเทศต่างๆมากยิ่งขึ้น

          หลักกฎหมายดังกล่าวมีบัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมายอาญาของไทยเช่นกัน            โดยหลักทั่วไป  รัฐมีอำานาจเหนือบุคคลทั้งหลายที่อยู่ภายในอาณาเขต
          มาตรา  8 ได้บัญญัติถึงอำานาจของรัฐที่จะพิจารณาพิพากษาคดีที่บุคคล

          ได้กระทำาความผิดนอกราชอาณาจักรและกลับเข้ามาในราชอาณาจักร โดย         รวมทั้งอำานาจในการลงโทษผู้ฝ่าฝืนกฎหมายด้วย  แต่อำานาจนี้ย่อมจะใช้ไม่ได้
          ผู้กระทำาผิดนั้นเป็นคนไทย  และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้น   เมื่อผู้กระทำาผิดได้หลบหนีออกนอกประเทศ กล่าวอีกในหนึ่ง คือ รัฐมีอำานาจ

          หรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ  หรือถ้าผู้กระทำาความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว  ที่จะพิจารณาลงโทษผู้กระทำาผิดกฎหมายก็ต่อเมื่อผู้ร้ายยังอยู่ในอาณาเขต

          และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหาย  และ  ผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ   ของรัฐนั้น ถ้าผู้ร้ายได้เข้าไปอยู่ในอาณาเขตของรัฐอื่นอำานาจของรัฐนั้น
          ทั้งนี้ความผิดที่กระทำาจะต้องเป็นความผิดที่ระบุไว้ในมาตรานั้นๆ ด้วย    ก็ต้องหยุดชะงักลง  ประกอบกับแต่ละรัฐก็ต้องหวงแหนอำานาจอธิปไตยของตน

          แต่บทบัญญัติที่กล่าวมานี้ไม่สามารถนำามาใช้บังคับได้  ถ้าหากผู้กระทำาความผิด  แต่การปล่อยให้ผู้ร้ายหลบหนีการลงโทษไปได้ก็เป็นการไม่สมควร อีกทั้ง
          หลบหนีไปนอกราชอาณาเขตของรัฐและเข้าไปหลบซ่อนตัวอยู่ในอาณาเขต          ยังเป็นอันตรายต่อสังคมโลกในส่วนรวมอีกด้วย ฉะนั้น เพื่อเป็นการป้องกัน

          ของรัฐอื่น วิธีการที่จะทำาให้บทบัญญัติดังกล่าวมีผลบังคับใช้จึงต้องมีการ   ไม่ให้ผู้กระทำาผิดกฎหมายหลีกเลี่ยงการลงโทษได้โดยอาศัยดินแดนของรัฐอื่น
          ร้องขอไปยังรัฐที่ผู้กระทำาความผิดหลบซ่อนอยู่ให้ช่วยจับกุม และส่งตัวบุคคลนั้น   เป็นที่คุ้มกันและเพื่อกำาจัดอาชญากรรมและรักษากฎหมายรวมทั้งความสงบสุข

          กลับมาเพื่อการพิจารณาคดีและลงโทษต่อไป วิธีการเช่นนี้ถือได้ว่าเป็นความร่วมมือ   รัฐต่างๆ จึงร่วมมือกันโดยการส่งผู้ร้ายที่หลบหนีเข้ามาคืนไปยังรัฐที่มีความผิด
          ระหว่างประเทศในทางอาญารูปแบบหนึ่งโดยการติดตามจับตัวบุคคล             ได้เกิดขึ้น กฎหมายเกี่ยวกับการส่งผู้ร้ายข้ามแดนจึงก่อตั้งขึ้นบนหลักแห่ง

          ที่กระทำาความผิดกลับมาลงโทษ  เพื่อร่วมมือกันปราบปรามผู้กระทำาความผิด  ความร่วมมือของรัฐต่อรัฐ
          ที่หลบหนีไปต่างแดนและเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายอาญาเป็นไปอย่างมี          เนื่องจากข้อจำากัดของพื้นที่  ผู้เขียนจะขออธิบายถึงการพยายามยกร่าง

          ประสิทธิภาพ                                                          สนธิสัญญาการส่งผู้ร้ายข้ามแดนของอาเซียนในฉบับหน้านะครับ

                ยุคของการส่งผู้ร้ายข้ามแดนและประเด็นสำาคัญเกี่ยวกับการส่งผู้ร้าย    ที่มาของภาพ http://www.shutterstock.com/pic-97655330/stock-photo-
          ข้ามแดนในยุคนั้นๆ จะพบว่ามีประวัติความเป็นมาดังนี้                   policeman-chasing-robber.html
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12