Page 11 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 23 วันที่ 17 - 23 กันยายน 2561
P. 11

วันที่ ๑๗ - ๒๓ กันยายน ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                             ๑๑



           คณะศิลปกรรมศาสตร์ฯ          (ต่อจากหน้า 12)   พาน้องใหม่ปี’61ฯ            (ต่อจากหน้า 12)   ม.รามฯ มุ่งสืบสานฯ         (ต่อจากหน้า 12)


                                                             ด้าน คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ กล่าวว่าโครงการนี้   ได้แก่  มาตรฐานด้านนโยบาย  ด้านการส่งเสริม
                                                        จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใหม่ของคณะวิทยาศาสตร์ ด้านการสนับสนุน ด้านการสร้างมาตรฐานและ

                                                        มีโอกาสเข้าค่ายชมห้องปฏิบัติการของคณะ  โดย ด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์ สืบสาน

                                                        ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์และรุ่นพี่ในการ  ส่งเสริมภูมิปัญญาไทยให้เป็นรากฐานการพัฒนา
                                                        จัดโครงการครั้งนี้  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาใหม่  องค์ความรู้ที่ดีขึ้น


                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปาณิสรา  เผือกแห้ว    ได้ทำาความรู้จัก คุ้นเคยกับระบบการเรียนการสอน      คำากล่าวที่ว่า “สิบรู้ไม่สู้ประสบการณ์” ยังเป็น
          กล่าวว่าโครงการปฏิบัติการดนตรีไทย  สำาหรับการแสดง   ของคณะ  รวมถึงอุปกรณ์และเครื่องมือปฏิบัติการ   สิ่งที่ใช้ได้อยู่เสมอในทุกกาลเวลา เปรียบกับการ
          เริ่มโครงการเมื่อปี 2559 ตามเจตนารมณ์ของ      ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความพร้อมสำาหรับการศึกษา    ศึกษาหาความรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน

          รองศาสตราจารย์รังสรรค์ แสงสุข อดีตอธิการบดี   เป็นโอกาสที่ดีให้นักศึกษาใหม่ได้ปรับตัวเข้ากับ  ล้านนาที่ในปัจจุบันมีให้เห็นน้อยลงเรื่อยๆ จึงจำาเป็น

          และผู้ก่อตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์  ผู้ริเริ่มให้มี   สภาพแวดล้อมในแต่ละภาควิชา                 อย่างยิ่งที่คนรุ่นใหม่ต้องช่วยกันอนุรักษ์และสืบทอด
          การเล่นดนตรีประกอบการแสดงโขน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง      “สำาหรับกิจกรรมครั้งนี้หวังให้นักศึกษา  ศิลปะการแสดงเหล่านี้ให้คงอยู่ต่อไป การจัดโครงการ
          ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ ต่อมา บุคคลภายนอก        ร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน  เก็บเกี่ยวความรู้   เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนาครั้งนี้ ถือเป็น

          มีความสนใจในดนตรีไทยมากขึ้น  คณะผู้จัดทำา     และประสบการณ์จากกิจกรรมให้มากที่สุด           กิจกรรมทางด้านทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรมและพัฒนา

          จึงปรับเปลี่ยนโครงการให้เหมาะสมกับคนในชุมชน   เมื่อนักศึกษาเข้ามาเรียนด้วยความตั้งใจแล้ว     องค์ความรู้ ผู้รู้ ผู้ถ่ายทอดและกระบวนการเรียนรู้
          โครงการนี้จึงเป็นอีกหนึ่งโครงการที่สนองความต้องการ   ก็ขอให้เรียนจบตามเกณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ    ครูต้นแบบตามศาสตร์พระราชา ทำาให้บุคลากร
          บริการวิชาการแก่ชุมชน ทั้งยังเป็นการสนับสนุน   คณาจารย์  เจ้าหน้าที่  และรุ่นพี่ทุกคนจะคอยช่วยเหลือ   นักศึกษา  และประชาชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม

          อนุรักษ์ดนตรีไทยสำาหรับการแสดงให้คงอยู่       ดูแลนักศึกษาอย่างเต็มที่ที่สุดตลอดจนจบการศึกษา”  ทางด้านการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมด้วย

          อย่างยั่งยืน                                       สำาหรับโครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่      ด้าน พ่อครูมงคล  เสียงชารี ข้าราชการบำานาญ
                                                        คณะวิทยาศาสตร์  กิจกรรม “น้องใหม่ทัวร์แลบวิทย์”
           เศรษฐศาสตร์ 101              (ต่อจากหน้า 5)                                                วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ กรมศิลปากร กล่าวว่า
                                                        จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-2 กันยายนที่ผ่านมา  มีกิจกรรม
          โอกาสจะนำาเงินพวกนี้ไปใช้ได้จริงยังมีจำากัดมาก   พานักศึกษาชมห้องปฏิบัติการพื้นฐานวิชาชีววิทยา    ศิลปวัฒนธรรมเป็นรากเหง้าของประเทศไทยที่มีมา

          นอกจากนั้นการปั่นราคาหรือมูลค่าเงินดิจิทัลสกุลต่าง ๆ   เคมี  ฟิสิกส์  และคอมพิวเตอร์  พร้อมแนะนำา  ตั้งแต่อดีต  ซึ่งอยู่ในจิตวิญญาณของคนไทยทุกคน

          ทำาให้เกิดความเสี่ยงคล้ายเล่นการพนันหรือเล่นหุ้น   ระบบการเรียนการสอนของแต่ละภาควิชา  มีกิจกรรม   ศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนา ถือเป็นส่วนหนึ่ง
          เช่นตอนต้นปีที่แล้ว 1 บิทคอยน์เคยมีค่าเกิน    เข้าฐานละลายพฤติกรรมเพื่อสร้างความสนุกสนาน    ของศิลปวัฒนธรรมไทยที่มีการสืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่น
          1,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ แต่เผลอแพลบเดียวค่าตก     ให้กับน้องๆ  ก่อนเข้าสู่พิธีบายศรีสู่ขวัญ  และพา  โดยผ่านการนำาเสนอที่หลากหลายรูปแบบ ล้วนมาจาก

          มาเกือบครึ่ง คนที่เก็งกำาไรไม่ล่มจมตอนนี้จะไป   นักศึกษาใหม่สักการะพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช    ความสวยงามในจิตใจถ่ายทอดออกมาผ่านท่าทาง

          ล่มจมตอนไหนล่ะครับ และเพราะการที่คนยังต้อง    เพื่อความเป็นสิริมงคล  ณ  บริเวณลานพ่อขุน-    และท่วงทำานองต่างๆ ที่ผสมผสานทั้งนาฏยศัพท์
          ใช้เงินจริง ๆ กันอยู่นี่เองจึงทำาให้เกิดการหลอกลวง  รามคำาแหงมหาราช                         และดุริยศัพท์ เข้าด้วยกัน
          ที่เป็นข่าวขึ้นมา                                                                                “ปัจจุบันนักเรียน นักศึกษา เยาวชนคนรุ่นใหม่

                คนที่มีเงินดิจิทัลอย่างเช่นบิทคอยน์ที่ตีค่า จากเขาก็ได้ ปัญหาอยู่ที่เมื่อนำาเงินดิจิทัลที่โอนมา  และประชาชนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติให้ความสนใจ
          เป็นเงินบาทอาจได้สัก  2-3 พันล้าน แต่จะเอามา แลกเป็นหุ้นได้แล้วก็เงียบเฉยไปเลยในขณะที่มี    ศึกษาศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนาอย่างมาก

          แลกเป็นเงินบาทเพื่อไปใช้จ่ายก็ไม่ได้เพราะแบงก์ชาติ  การเปลี่ยนเป็นเงินจริงเข้าบัญชีพ่อแม่ญาติพี่น้อง  ในฐานะของครูและผู้สืบทอดศิลปวัฒนธรรม รู้สึกดีใจ
          ไม่ยอมรับ หรือจะเอาไปแลกเป็นดอลลาร์สหรัฐฯ  กันไปหลายร้อยล้านบาท                             และยินดีมากที่ได้เผยแพร่องค์ความรู้ด้วยจิตวิญญาณ

          ก็ไม่ได้ด้วยเหตุผลเดียวกันจึงเปรียบเหมือนเป็น       เท่าที่ตามข่าวอยู่นั้นผมเห็นว่าคดีการแลกเงิน   ความเป็นครูและความรักในศิลปวัฒนธรรมและ
          เงินลม ๆ แล้ง ๆ ที่ผมเรียก ด้วยเหตุนี้เองทำาให้ ดิจิทัลนี้คงยังไม่จบได้ง่าย ๆ เพราะแค่ข้อมูลที่มี   ได้เปิดศูนย์การเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน

          เกิดคนหัวใสคิดตั้งตัวเป็นคนกลางจะรับแลกให้  อยู่ในขั้นแรกก็เพียงพอที่จะทำาให้ตำารวจเจ้าของคดี   อำาเภอดอยสะเก็ด เปิดสอนศิลปะล้านนา ฟรี เช่น
          วิธีการก็คือเขาจะก่อตั้งเป็นบริษัทที่ยอมรับเงิน ปวดหัวอยู่แล้ว พวกเราที่อยู่แค่วงนอกรอดูไปก็แล้วกัน   การฟ้อนดาบแบบล้านนา การฟ้อนเจิง และตีกลอง-

          ดิจิทัลของคนที่จะมาซื้อหุ้น ซึ่งถ้าบริษัทเข้าตลาดหุ้นได้  ที่สำาคัญอย่าไปหลงใหลได้ปลื้มกับเงินดิจิทัลลม ๆ แล้งๆ
          ผู้ถือหุ้นจะสามารถขายหุ้นนั้นได้เป็นเงินจริง พวกนี้เลย  แม้จะมีเว็บไซต์หลายแห่งบอกว่าจะ     สะบัดชัย ให้กับผู้สูงอายุ เยาวชน ตลอดจนนักเรียน

          อย่างเช่นสกุลบาทเป็นต้น หรือจะเอาเงินดิจิทัล แจกบิทคอยน์ฟรีก็ตาม อย่าลืมว่า “โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี”   นักศึกษา โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายด้วย เพื่อให้ศิลปวัฒนธรรม
          มาแลกเป็นหุ้นของบริษัทที่มีอยู่ในตลาดแล้ว  นะครับ ทุกอย่างมีต้นทุนที่จะต้องเสียทั้งนั้น     เหล่านี้คงอยู่คู่กับประเทศไทยต่อไป”



                                  หนังสือพิมพ์ข่าวรามคำาแหง                                                   กองจัดการ
          เจ้าของ        มหาวิทยาลัยรามคำาแหง                                      งานประชาสัมพันธ์  อาคารสุโขทัย ชั้น ๒ ห้อง ๒๐๕ โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๐๔๕-๔๗
          ที่ปรึกษา      คณะกรรมการประชาสัมพันธ์ ม.ร.                              อัตราสมาชิก (ปีละ ๕๒ ฉบับ) ออกทุกวันจันทร์ ปีละ ๒๐๐ บาท
          บรรณาธิการ     ผศ.ลีนา ลิ่มอภิชาต
          ผู้ช่วยบรรณาธิการ  รศ.วาริศา พลายบัว   น.ส.สุธี ตันตินันท์ธร             สมาชิกอาจมารับด้วยตนเองที่มหาวิทยาลัยก็ได้
          กองบรรณาธิการ   นางรัชนี โคตรพรหม    น.ส.พรรณวรา เพิ่มพูล                นักศึกษาต้องการเปลี่ยนแปลงที่อยู่การส่งข่าวติดต่อที่งานประชาสัมพันธ์ อาคารสุโขทัย ชั้น ๒
                         นางปุญญิสา อรพินท์   น.ส.กุลิศรา เจริญสุข   นางสาริศา แสงสุข  ห้อง ๒๐๕ โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๐๔๕-๔๗
          ผู้จัดการ      นางวนิดา หาญณรงค์
          ช่างภาพ        นายวิทยา ธนาฤกษ์มงคล   นายภาณุพงศ์ พิงไธสง   นายสยุมพล ศรพรหม  ผู้พิมพ์    สำานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๗๕๘-๕๙
   6   7   8   9   10   11   12