Page 12 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 23 วันที่ 17 - 23 กันยายน 2561
P. 12

๑๒                                        ข่าวรามคำาแหง (ฉบับที่  ๑๒)                           วันที่ ๑๗ - ๒๓ กันยายน ๒๕๖๑
                                                                                                           วันที่ ๒๔ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖
                                                       ข่าวรามคำาแหง (ฉบับที่ ๒๓)

                                                                                  ม.ร.จัดประชุมวิชาการระดับชาติ
            พาน้องใหม่ปี’61 ทัวร์แลบวิทย์                                         หวังเป็นแนวทางท�าวิจัยแก่ผู้สนใจ






                                                                                      ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จิรโชค

                                                                                วีระสย  รักษาการตำาแหน่งผู้อำานวยการ
                                                                                โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
                                                                                ทางสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัย-

                                                                                รามคำาแหง  เป็นประธานเปิดการประชุม
                                                                                วิชาการระดับชาติ  เพื่อนำาเสนอ
                 รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มุสิก  คณบดีคณะวิทยาศาสตร์  เป็นประธาน  ผลงานดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์

          เปิดโครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่คณะวิทยาศาสตร์  กิจกรรม         และผลงานวิชาการ  ครั้งที่ 22  ประจำาปีการศึกษา 2561  และเพื่อเผยแพร่
          “น้องใหม่ทัวร์แลบวิทย์”  จัดโดยคณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยรามคำาแหง   องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยของนักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอก

          โดยมีคณาจารย์  เจ้าหน้าที่  นักศึกษารุ่นพี่และรุ่นน้องร่วมงานจำานวนมาก    เป็นแนวทางในการทำาวิจัยให้กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและผู้สนใจทั่วไป
          เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2561  ณ ห้องประชุมใหญ่  คณะวิทยาศาสตร์          โดยมีนักศึกษาปริญญาเอก และผู้สนใจร่วมนำาเสนอผลงาน  เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2561

                โอกาสนี้  อาจารย์  ดร.โกวิท  น้อยโคตร  รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา   ณ ห้อง 213 ชั้น 2 อาคารท่าชัย
          กล่าวรายงานว่าคณะวิทยาศาสตร์มีหน้าที่ผลิตบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์มา

          รับใช้สังคม  จึงมีความมุ่งมั่นในการผลิตบัณฑิตที่เก่งและดีให้แก่ประเทศชาติ   ม.รามฯ มุ่งสืบสานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนา
          โดยมหาวิทยาลัยรามคำาแหงเป็นมหาวิทยาลัยตลาดวิชา  ทำาให้มีนักศึกษา

          ที่เข้ามาเรียนในคณะวิทยาศาสตร์มีความหลากหลาย  ทั้งระดับขั้นและ
          สาขาการศึกษาในชั้นมัธยม  หรือสายอาชีพ  และการเรียนระบบพรีดีกรี

          จึงต้องมีการปรับพื้นฐานและเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา  เพื่อให้นักศึกษาใหม่
          สามารถปรับตัวเข้ากับวิธีการเรียนรู้แบบตลาดวิชาและการเรียนในสาขาวิชาต่างๆ

          ของคณะวิทยาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสมจนประสบความสำาเร็จในการเรียน
                                                               (อ่านต่อหน้า 11)  อ.ดร.หฤษฎ์ นิ่มรักษา พ่อครูมงคล  เสียงชารี
                                                                                     เสียงกลองสะบัดชัยที่ดังสนั่น..
              คณะศิลปกรรมศาสตร์                                                สร้างความฮึกเหิมและหนักแน่น



              สืบสานอนุรักษ์ดนตรีไทย                                           ในใจผู้ฟังยิ่งนัก ถือเป็นมนต์เสน่ห์
                                                                               ของศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนา
                                                                               อย่างหนึ่งที่มักจะพบเห็นในงานพิธีต่างๆ ลีลาการตีกลองมีลักษณะที่โดดเด่น
                                                                               และใช้อวัยวะส่วนต่างๆของร่ายกายผสมผสานกับการตีได้อย่างสวยงาม

                                                                               สร้างความประทับใจให้กับผู้ชม จึงนับได้ว่าการตีกลองสะบัดชัยเป็นศิลปะ

                                                                               ที่นำาชื่อเสียงทางด้านวัฒนธรรมมาสู่ล้านนาได้ไม่น้อย และเป็นสิ่งที่คนรุ่นใหม่
                                                                               ควรหันมาสนใจและร่วมสืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้านนี้ให้คงอยู่คู่สังคมไทยต่อไป
                                                                                     สถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง

                                                                               จัดการอบรมโครงการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนา โดยมี อาจารย์
                 สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง       ดร.หฤษฎ์ นิ่มรักษา รองอธิการบดีฝ่ายวิทยบริการจังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธาน

           จัดแสดงผลสัมฤทธิ์ “โครงการปฏิบัติการดนตรีไทย ส�าหรับการแสดง”        เปิดการอบรม และมี พ่อครูมงคล  เสียงชารี ข้าราชการบำานาญ วิทยาลัย-
           โดยมี อาจารย์ ดร.สมศักดิ์  เกตุแก่นจันทร์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์    นาฏศิลปเชียงใหม่ กรมศิลปากร ครูพีระวัฒน์  เสียงชารี ครูวิทยฐานะชำานาญการ
           เป็นประธานเปิดงาน และมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปาณิสรา  เผือกแห้ว  ประธาน  โรงเรียนสันกำาแพง และครูศุภโชค บุญสร้าง ครูวิทยฐานะชำานาญการ

           โครงการฯ คณาจารย์ นักศึกษา ร่วมในพิธี เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561    โรงเรียนดุมใหญ่ดงยาง ผู้สืบทอดศิลปะการแสดงพื้นบ้านล้านนาจาก พ่อครู

           ณ ห้องปฏิบัติการ ชั้น 17 อาคารสุโขทัย                               มานพ ยาระณะ (พ่อครูพัน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำาปี 2548
                 โอกาสนี้  อาจารย์  ดร.สมศักดิ์  เกตุแก่นจันทร์  คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์   เป็นวิทยากร ทั้งนี้มีนักศึกษาและประชาชนเข้าร่วมอบรม จำานวน 40 คน
           กล่าวว่าดนตรีประกอบการแสดง เป็นดนตรีที่หาฟังได้ยาก ด้วยเอกลักษณ์    เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุม 322 ชั้น 3 อาคารสุโขทัย

           ของทำานอง บทเพลง ที่จะได้ยินในการแสดงเท่านั้น โดยเฉพาะบทเพลงสมัยก่อน      โอกาสนี้ อาจารย์ ดร.หฤษฎ์  นิ่มรักษา รองอธิการบดีฝ่ายวิทยบริการ

           ที่บรรเลงคู่กับเครื่องดนตรีไทย  ยากที่จะฝึกฝนและมีผู้บรรเลงได้โดยทั่วไป   จังหวัดปราจีนบุรี กล่าวว่าสถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยรามคำาหง
           แต่ทุกครั้งที่ทำาการแสดง บทเพลงเหล่านั้นจะมีความไพเราะ มีเอกลักษณ์  มีภารกิจหลักในการทำานุบำารุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยและส่งเสริมอนุรักษ์
           ประกอบในทุกทำานอง ควรค่าแก่การสืบทอดอนุรักษ์ไว้ วันนี้ผู้เข้าร่วมโครงการ  ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบกับหลักการด้านงานการประกันคุณภาพการศึกษา

           และครูผู้สอนทุกท่าน  แสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ที่มีคุณค่าและความตั้งใจ  ถือเป็นพันธกิจสำาคัญประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา  เพื่อให้เกิดการพัฒนา

           ของทุกคน                                           (อ่านต่อหน้า 11)  มาตรฐานการทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรม 5 ด้าน            (อ่านต่อหน้า 11)
   7   8   9   10   11   12