Page 7 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 19 วันที่ 20 - 26 สิงหาคม 2561
P. 7

วันที่ ๒๐ - ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                               ๗




                   ปัจจัยที่ทำ�ให้ตัดแว่นต�แล้วใส่ไม่ได้





                              อาจารย์อัครพนธ์ วัชรพลากร                                   คณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง

             จากสถิติของส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  โรคเบาหวานมักจะประสบปัญหาเรื่องแว่นสายตาที่ตัดมานั้นมองไม่ชัด  หรือ
          พบว่าคนไทยจ�านวนมากมีปัญหาสายตา  ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น  สายตายาว  คนไข้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงอาจจะท�าให้เกิดภาวะจอประสาทตาขาดเลือด

          หรือ สายตาเอียง และแก้ปัญหาด้วยวิธีที่ง่ายที่สุด นั่นก็คือการตัดแว่นตา ส่งผลให้มองเห็นไม่ชัดได้ ดังนั้นหากผู้ตรวจเจอคนไข้ที่มีโรคประจ�าตัวเหล่านี้
          จากร้านค้าที่สะดวกและราคาถูกที่สุด และส่วนใหญ่จะพบปัญหาว่าได้เลนส์แว่นตา  จะต้องบอกให้คนไข้ควบคุมน�้าตาลให้ดีก่อนที่จะมาตรวจวัดสายตา  เพื่อให้

          ที่ไม่ตรงกับค่าสายตาที่เปลี่ยนไป และคนไทยจ�านวนไม่น้อยก็หาทางออก ได้ค่าสายตาที่ถูกต้องและแม่นย�า
          ด้วยการเปลี่ยนร้านแว่นไปเรื่อย ๆ                                        3.  ค่าสายตาที่ต้องปรับตัวมาก  คนไข้บางคนมีความผิดปกติทางด้าน

              จากการสอบถามกลุ่มคนท�างานที่มีปัญหาสายตากว่า 20 คน ถึงการ สายตาที่ต้องปรับตัวมาก เช่น สายตาเอียงในแกนองศาแนวเฉียง สายตาสั้น
          เลือกร้านแว่น ก็ได้ข้อมูลแทบไม่แตกต่างกันคือ เลือกร้านที่สะดวก ร้านขนาดใหญ่ มาก ๆ หรือ สายตายาวมาก ๆ เป็นต้น คนไข้เหล่านี้จะปรับตัวให้เข้ากับแว่น

          ที่มีหลายสาขา เพราะน่าเชื่อถือ และบางครั้งก็เลือกเพราะโฆษณาที่คุ้นหูคุ้นตา สายตาอันใหม่ที่เพิ่งตัดได้ยากกว่าผู้อื่น อาจจะต้องใช้เวลาในการปรับตัวนานขึ้น
          หรือมีโปรโมชั่นลดราคา ในขณะที่กลุ่มวัยรุ่นจะเน้นร้านที่มีกรอบแว่นตาแฟชั่น แต่หากคนไข้ไม่สามารถทนกับแว่นตาที่เพิ่งตัดมาในช่วงปรับตัวได้  ก็จะเลิก

          ทันสมัยให้เลือกมากมายและราคาไม่สูงมากนัก แต่พฤติกรรมที่ทั้งสองกลุ่ม ใส่แว่นตาอันใหม่นั้นไปในที่สุด ร้านแว่นตาบางร้านอาจจะแก้ไขสายตาให้คนไข้
          เหมือนกัน คือ ส่วนใหญ่จะไม่ได้ไปตรวจวัดสายตากับผู้เชี่ยวชาญในสถานพยาบาล เพียงเล็กน้อยก่อนเพื่อจะท�าให้คนไข้ปรับตัวได้ในระยะเวลาที่เร็วขึ้น ท�าให้

          เพื่อน�าค่าสายตามาให้ร้านแว่นตัดเลนส์ให้ เพราะเชื่อว่าเครื่องวัดสายตาคอมพิวเตอร์ ผู้สวมใส่ไม่ต้องปวดหัวในการปรับตัวมากเกินไปในระยะแรก  แต่ภายหลัง
          ในแต่ละร้านคงมีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกัน  ความเชื่อเช่นนี้ท�าให้หลายคน  อาจจะเกิดปัญหาแว่นสายตาที่ตัดมาใหม่นั้นไม่ชัดแทน

          มีปัญหาหลังจากการใช้แว่นใหม่แล้วต้องปวดหัว เวียนหัว จนต้องกลับไป     4.  การประกอบแว่นสายตาไม่ถูกต้อง อาจจะเกิดจากการตั้งศูนย์แว่น
          ให้ทางร้านแก้ไขวัดสายตาให้ใหม่                                       ผิดพลาด ไม่ถูกต้องต่อชนิดสายตา ค่าสายตา ซึ่งอาจจะท�าให้เกิดความเสียหาย

             เครื่องวัดสายตาด้วยคอมพิวเตอร์เรียกว่า Auto Refractor ตามร้านค้าแว่นตา  อย่างมาก หากเป็นการตัดเลนส์ที่มีราคาสูง เช่นเลนส์ Progressive โดยการ
          เริ่มมีใช้ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 หรือ 40 ปีที่ผ่านมา เป็นเครื่องมือ  ที่ประกอบแว่นสายตาไม่ตรงจะท�าให้เกิดภาวะเสมือนใส่เลนส์ปริซึม

          ที่ออกแบบมาเพื่อใช้วัดสายตา โดยการให้ค่าสายตาเป็นตัวเลขส�าเร็จรูป ข้อมูล (Prismatic effect) ท�าให้คนไข้เกิดอาการปวดหัว มึนหัว คลื่นไส้ อาเจียนได้
          จากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ระบุถึงข้อดีของเครื่องมือนี้คือใช้งานง่าย      5.  ปัญหาจากวัสดุของแว่นสายตา  เช่น  ตัวแว่นสายตามีการโค้งงอ

          ได้ค่าสายตารวดเร็ว  แต่ข้อเสียคือค่าที่ได้จากเครื่องมือนี้อาจไม่ตรงกับความจริง  บิดเบี้ยวจากการท�าตก นอนทับ นั่งทับ หรือ การใส่ถอดแว่นตาผิดวิธี ซึ่งเมื่อ
          ความน่าเชื่อถือประมาณ 80% ส่วนกลุ่มที่ไม่ควรใช้เครื่องวัดสายตานี้คือ  ตัวแว่นตาบิดเบี้ยวจะท�าให้แสงไปตกกระทบจอประสาทตาผิดต�าแหน่ง

          เด็กอายุต�่ากว่า 6 ขวบ เพราะความน่าเชื่อถือจะน้อยกว่า 50%            ท�าให้เกิดปัญหาใส่แว่นแล้วไม่ชัดนั่นเอง
            นอกจากนี้  ในคนไข้ที่มีปัญหาในเรื่องของ                                 เมื่อทราบถึงปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้แล้ว ก่อนไปตรวจวัดสายตาอย่าลืมพักผ่อน

          การปรับโฟกัสและการเพ่งมักจะได้                                       ให้เพียงพอ ควบคุมระดับน�้าตาลและความดันโลหิตให้ดี และไปตรวจวัดสายตา
          ค่าสายตาที่สั้นกว่าปกติ หรือในคนไข้ที่มี                             กับผู้เชี่ยวชาญเพื่อจะท�าให้ไม่เกิดปัญหาตัดแว่นสายตามาแล้วใส่ไม่ได้นั่นเอง

          ปัญหาโรคตา เช่น กระจกตาโป่งพอง,
          หนังตาตก, ต้อกระจก ก็จะท�าให้ได้ค่าสายตา                             คลินิกส�ยต� มห�วิทย�ลัยร�มคำ�แหง
                                                                                    คลินิกสายตา  คณะทัศนมาตรศาสตร์
          ที่ไม่ถูกต้องได้  และส�าหรับในคนที่มีสายตายาว-  รูปที่ 1 เครื่อง Auto Refractor (Barksdale Air Force
          ผู้สูงอายุ  เครื่องนี้ก็ไม่สามารถบอกค่าสายตา   ภาพไม่มีลิขสิทธิ์ แสดงใน public domain)  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง  เปิดให้บริการ

          ส�าหรับการมองใกล้ได้  จึงอาจจะสรุปได้ว่าค่าสายตาที่ได้จากเครื่องวัดสายตา   ตรวจสายตาและสุขภาพตาฟรี ด้วยห้องตรวจ
          ด้วยคอมพิวเตอร์นี้ไม่อาจเชื่อถือได้ เพราะเป็นเพียงค่าสายตาเบื้องต้น จึงไม่เหมาะ  พร้อมเครื่องมือตรวจวัดที่ทันสมัย  การตรวจ

          ที่จะน�าไปใช้ในการประกอบแว่นสายตา เพราะอาจก่อให้เกิดอาการปวดหัว      ถูกต้องตามหลักวิชาการและมาตรฐานสากล
          คลื่นไส้ อาเจียน เห็นภาพซ้อน มองไม่ชัดในบางระยะ ซึ่งอาจท�าให้ผู้ใช้เสี่ยง   โดยนักศึกษาทัศนมาตรศาสตร์ชั้นปีที่  4   รูปที่2 ภาพคลินิกสายตา มหาวิทยาลัยรามค�าแหง

          ที่จะประสบอุบัติเหตุได้                                              ถึง 6 ภายใต้การดูแลของอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสายตา (Doctor of Optometry)
                                                                                   การให้บริการประกอบด้วย
                       ปัจจัยที่ทำ�ให้ตัดแว่นต�แล้วใส่ไม่ได้                       1.  การตรวจสายตา เช่น สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง เป็นต้น

              1.  ค่าสายตาที่ท�าแว่นตาไม่ถูกต้อง ปัจจัยนี้เป็นปัญหาเกิดจากตัวผู้วัดสายตา      2.  การตรวจสุขภาพดวงตา เช่น การตรวจหาต้อลม ต้อเนื้อ ต้อกระจก  เป็นต้น
          ที่อาจจะวัดสายตาไม่ถูกต้อง  เชื่อถือค่าที่ได้จากเครื่องวัดสายตาด้วยคอมพิวเตอร์     3.  การตรวจความเสี่ยงในการเกิดโรคตา เช่น ต้อหิน เป็นต้น

          มากเกินไป โดยเฉพาะขั้นตอนการประเมินการเพ่งของตาและการคลายกล้ามเนื้อตา      4.  การตรวจอื่น ๆ (ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล)
          หากเชื่อเครื่อง Auto Refractor อาจจะน�าไปสู่ค่าสายตาสั้นที่มากเกินความจ�าเป็น      หมายเหตุ การตรวจใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง

          น�าไปสู่ความไม่สบายตาและใส่ไม่ได้ในที่สุด                                ในภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2561  เปิดให้บริการทุกวัน  ตั้งแต่วัน
             2.  โรคประจ�าตัวของผู้ใส่แว่นตา โรคประจ�าตัวหลายโรคส่งผลต่อค่าสายตา  จันทร์ถึงวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 09.00 - 17.00 น.

          เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไทรอยด์ เป็นต้น คนไข้ที่เป็น     สถานที่ให้บริการ คลินิกสายตา คณะทัศนมาตรศาสตร์ อาคารสุโขทัย
          โรคเบาหวานมักจะมีค่าสายตาที่เปลี่ยนแปลงอยู่บ่อย ๆ นั่นคือผู้ที่ป่วยเป็น ชั้น 1 มหาวิทยาลัยรามค�าแหง                       (อ่านต่อหน้า 9)
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12