Page 11 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 19 วันที่ 20 - 26 สิงหาคม 2561
P. 11

วันที่ ๒๐ - ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                             ๑๑



           งานวิจัย “ฟาร์มกวาง” จาก ม.รามค�าแหง คว้ารางวัล Platinum Award จาก วช.     (ต่อจากหน้า 1)    ฟาร์มกวางรามฯ เดินหน้า


          สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า-
          พระนครเหนือ  องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร  มหาวิทยาลัย  ต่อยอดธุรกิจสู่การเกษตรสมัยใหม่
          ราชภัฏยะลา ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมการข้าว ส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

          มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และกรมอนามัย
                ส�าหรับ งานวิจัยชุดโครงการ “นวัตกรรมเพื่อการท�าฟาร์มกวางสมัยใหม่” (Innovation for Modern Deer Farming)
          จากมหาวิทยาลัยรามค�าแหง  ที่ได้รับรางวัลครั้งนี้  เป็นการบูรณาการงานวิจัยด้านนวัตกรรม  เครื่องมือเพื่อการ
          บริหารจัดการฟาร์มกวางสมัยใหม่อย่างครบวงจร ช่วยต่อยอดองค์ความรู้เดิม และเป็นฐานรากคอยให้ค�าปรึกษา ช่วยเหลือ

          สนับสนุน  และต่อยอดให้เกษตรกรเครือข่ายได้พัฒนาประสิทธิภาพการท�าฟาร์มกวาง  เสริมสร้างรายได้ที่ยั่งยืน
          โดยมหาวิทยาลัยได้เริ่มก่อตั้งฟาร์มกวางตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของสถาบันวิจัยสัตว์ในภูมิภาคเขตร้อน
          มีการท�างานเกี่ยวกับด้านข้อมูลการวิจัยพื้นฐานมาโดยตลอด  ปัจจุบันได้ประยุกต์ข้อมูลเหล่านั้นให้กับเกษตรกร
          โดยส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงกวางเป็นสัตว์เศรษฐกิจมากขึ้น  และได้น�านวัตกรรมที่เกิดจากงานวิจัยถ่ายทอดให้กับ

          เกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า และลดต้นทุนในการท�าธุรกิจฟาร์มกวาง
                ภายในชุดงานวิจัยนี้ ได้บูรณาการงานวิจัยต่างๆ เข้าด้วยกัน ได้แก่ โครงการ “การใช้คุณค่าทางโภชนาการกับ
          สัณฐานวิทยาของเขากวางอ่อนในระบบสามมิติ  เพื่อก�าหนดต้นทุนมาตรฐานเขากวางอ่อน”  เพื่อให้เกษตรกร      สถาบันวิจัยสัตว์ในภูมิภาคเขตร้อน
          เกิดการซื้อขายเขากวางอ่อนในราคาที่ยุติธรรม โครงการ “การพัฒนาโรงเรือนจัดการกวางเคลื่อนที่” ให้บริการ  มหาวิทยาลัยรามค�าแหง จัดโครงการ “การถ่ายทอด

          ตัดเขากวางแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงกวาง เพื่อช่วยลดต้นทุนในการผลิตโรงเรือนจัดการกวาง โครงการ “พืชอาหารสัตว์  แผนงานวิจัยการบูรณาการนวัตกรรมเชิง
          ส�าหรับฟาร์มกวางสมัยใหม่”  ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชอาหารสัตว์  เช่น  หญ้าเนเปียร์  และส่งกลับมาจ�าหน่าย
          ให้กับฟาร์มกวาง ม.ร. ท�าให้เกษตรกรมีรายได้ที่แน่นอน โครงการ “การประยุกต์ใช้เซลล์แสงอาทิตย์ ส�าหรับจ่าย  ประจักษ์เพื่อพัฒนาต่อยอดการท�าฟาร์มกวาง
          พลังงานไฟฟ้าในฟาร์มกวางมหาวิทยาลัยรามค�าแหง” เป็นการน�าแผ่นโซล่าเซลล์มาติดตั้งในฟาร์มกวาง ซึ่งช่วยลด   เชิงธุรกิจสู่การเกษตรสมัยใหม่” โดยมี รศ.ดร.มณี

          ค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนได้เป็นจ�านวนมาก โครงการ “นวัตกรรมจากมูลกวางภายใต้ความคิดของเสียเป็นศูนย์”   อัชวรานนท์  ผู้อ�านวยการแผนงาน  ผศ.พรชัย
          เป็นการน�ามูลกวางมาทดแทนดินลูกรังในการก่อบล็อกประสาน ซึ่งถือเป็นการน�าของเสียเหลือใช้ในฟาร์มกวาง   วงศ์วาสนา ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
          มาใช้เป็นวัสดุก่อสร้างได้ด้วย  และโครงการ  “การพัฒนาเนื้อดินปั้นเซรามิกจากเขากวางแข็ง”  โดยน�าเอาส่วนตอ  อาจารย์ยิ่งยง  เมฆลอย  ผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยสัตว์
          ของเขากวางที่หลุดหลังจากการตัดเขาแล้วมาเป็นส่วนผสมในการท�าเซรามิก รวมทั้งมีการท�าเครื่องประดับจากเขากวางแข็ง   ในภูมิภาคเขตร้อน รศ.ศศีโรตม์ เกตุแก้ว ผศ.ดร.เสรี

          และน�ามูลกวางมาเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ในโครงการ “แปรรูปผลิตภัณฑ์จากกวาง” เพื่อให้เกษตรกรได้  ตู้ประกาย  อาจารย์เอกสิทธิ์  ชาตินทุ  ผศ.ปิยวิทย์
          ท�าธุรกิจฟาร์มกวางได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน                                         เหลืองอร่าม และเจ้าหน้าที่ บรรยายถึงความก้าวหน้า

           ม.รามฯ รวมพลังชุมชนต้านสิ่งเสพติด-เต้นซุมบ้าสร้างเสริมสุขภาพ               (ต่อจากหน้า 2)   ของแผนงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
                                                                                                       ปีงบประมาณ 2561 ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการ
                ด้าน พลต�ารวจตรีฤชากร  จรเจวุฒิ  รองผู้บัญชาการต�ารวจนครบาล กล่าวว่าส�านักงานต�ารวจแห่งชาติยินดี   ใช้นวัตกรรมเพื่อการท�าฟาร์มกวางสมัยใหม่
          อย่างยิ่งที่ได้มาเป็นส่วนหนึ่งในการประกาศเจตนารมณ์เอาชนะปัญหาสิ่งเสพติด และไม่เคยนิ่งนอนใจในการ
          กวาดล้างสิ่งเสพติด การที่ทุกท่านพร้อมใจกันประกาศเจตนารมณ์เพื่อต่อต้านสิ่งเสพติด เป็นสิ่งที่น่าปลื้มใจว่า   ในลักษณะ Smart Farming เมื่อวันที่  7 กรกฎาคม

          เป็นความร่วมมือกันระหว่างเจ้าหน้าที่ต�ารวจและประชาชน  ขอชื่นชมความตั้งใจและมุ่งมั่นที่จะประกาศเจตนารมณ์   2561 ณ ฟาร์มกวางมหาวิทยาลัยรามค�าแหง
          ต่อต้านสิ่งเสพติด ปัญหาสิ่งเสพติดเป็นปัญหาของทุกคนในแผ่นดินนี้ แม้จะท�าหน้าที่อย่างเต็มที่ก็ไม่สามารถเอาชนะได้   จังหวัดสุโขทัย
          หากขาดความร่วมมือจากประชาชน                                                                        ภายในงานมี  รศ.ดร.ชัยณรงค์  คันธพิต
                “วันนี้เป็นอีกวันหนึ่งที่ได้เห็นประชาชนทั้งหญิง ชาย เด็ก ผู้ใหญ่ และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน   ประธานสหกรณ์กวางแห่งประเทศไทย  และ
          ตลอดจนชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัย  มาร่วมประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านสิ่งเสพติด  และต้องรักษาเจตนารมณ์นี้ให้ยืนยาว   ผู้ทรงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
          เพราะเป็นหน้าที่ของทุกคน ก็จะท�าให้สามารถชนะสิ่งเสพติดได้อย่างยั่งยืนและถาวร”                คุณสุรจิตร  ก้องวัฒนา  ผู้บริหารบริษัทในเครือ
                จากนั้นอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามค�าแหงได้รวมพลังทุกภาคส่วนประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านยาเสพติด

          ความว่า “ข้าพเจ้า” ขอประกาศเจตนารมณ์ว่าจะร่วมใจกันต่อต้านสิ่งเสพติดทุกประเภท จะไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด   สหพัฒน์ฯ ประธานบริษัทห่านฟ้า และเจ้าของ
          ทุกรูปแบบ ทั้งการเสพ การขายและการผลิต จะเฝ้าระวังสิ่งเสพติดในครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติและขอเป็น   วัฒนาฟาร์ม คุณภักดี พานุรัตน์ เจ้าของภักดีฟาร์ม
          พลังแผ่นดิน ท�าความดีเพื่อสังคมให้ชุมชนไทยยั่งยืน ร่วมแก้ไขปัญหาสิ่งเสพติดตลอดไป”  และได้น�าออกก�าลังกาย   และร้านอาหาร  Deer  Phislok  คุณวันทนา
          เต้นซุมบ้า โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ข้าราชการ บุคลากรชาวรามค�าแหง นักศึกษา นักเรียน และประชาชนจากหน่วยงาน   โหตรภวรานนท์  เจ้าของปโชติการฟาร์ม  และ
          ทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชุมชนโดยรอบได้แก่ ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ สถานีต�ารวจนครบาลหัวหมาก สถานีต�ารวจ   คุณอมตะ ปโชติการ เจ้าของโอฮานารีสอร์ท
          นครบาลอุดมสุข สถานีต�ารวจนครบาลวังทองหลาง ส�านักงานเขตบางกะปิ ส�านักงานเขตประเวศ ส�านักงานเขตวังทองหลาง   ร่วมด้วยเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลิตหญ้าอาหารสัตว์
          การกีฬาแห่งประเทศไทย โรงเรียนเทพลีลา (มัธยม) โรงเรียนวัดเทพลีลา โรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิ โรงเรียนบ้านบางกะปิ   จังหวัดสุโขทัย เข้ารับฟังการถ่ายทอด       และให้
          สถาบันรัชต์ภาคย์ ชุมชนคนรักในหลวงฯ ชุมชนหมู่บ้านกิตตินิเวศน์ ชมรมผู้สูงอายุศูนย์ 35 หัวหมาก การกีฬา  ความคิดเห็นในการท�าวิจัยของแผนงาน
          แห่งประเทศไทย ไปรษณีย์รามค�าแหง ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงเทพ บริษัทบิ๊กซี ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ากัด (มหาชน)

          และบริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ากัด (มหาชน) จ�านวนกว่า 3,000 คน ร่วมออกก�าลังกายเต้นซุมบ้าอย่างสนุกสนาน   ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดและให้ความสนใจเป็นอย่างมาก


                                  หนังสือพิมพ์ข่าวรามคำาแหง                                                   กองจัดการ
          เจ้าของ        มหาวิทยาลัยรามคำาแหง                                      งานประชาสัมพันธ์  อาคารสุโขทัย ชั้น ๒ ห้อง ๒๐๕ โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๐๔๕-๔๗
          ที่ปรึกษา      คณะกรรมการประชาสัมพันธ์ ม.ร.                              อัตราสมาชิก (ปีละ ๕๒ ฉบับ) ออกทุกวันจันทร์ ปีละ ๒๐๐ บาท
          บรรณาธิการ     ผศ.ลีนา ลิ่มอภิชาต
          ผู้ช่วยบรรณาธิการ  รศ.วาริศา พลายบัว   น.ส.สุธี ตันตินันท์ธร             สมาชิกอาจมารับด้วยตนเองที่มหาวิทยาลัยก็ได้
          กองบรรณาธิการ   นางรัชนี โคตรพรหม    น.ส.พรรณวรา เพิ่มพูล                นักศึกษาต้องการเปลี่ยนแปลงที่อยู่การส่งข่าวติดต่อที่งานประชาสัมพันธ์ อาคารสุโขทัย ชั้น ๒
                         นางปุญญิสา อรพินท์   น.ส.กุลิศรา เจริญสุข   นางสาริศา แสงสุข  ห้อง ๒๐๕ โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๐๔๕-๔๗
          ผู้จัดการ      นางวนิดา หาญณรงค์
          ช่างภาพ        นายวิทยา ธนาฤกษ์มงคล   นายภาณุพงศ์ พิงไธสง   นายสยุมพล ศรพรหม  ผู้พิมพ์    สำานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๗๕๘-๕๙
   6   7   8   9   10   11   12