Page 7 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 17 วันที่ 6 - 12 สิงหาคม 2561
P. 7

วันที่ ๖ - ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑                              ข่าวรามคำาแหง                                                               ๗



            เรียงความชนะเลิศวันไหว้ครู ประจ�าปีการศึกษา 2561





            นายศราวุธ  นุกูลกิจ                                                                  นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์   รหัส 5803013415

                          ครูผู้ให้แสงสว่าง แห่งปัญญา                          มัธยมศึกษา งานช่างก่อสร้างช่างไฟฟ้าส�าหรับนักศึกษาสายอาชีพ หรือ

                                                                               ความรู้ทางกฎหมายของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์  ตัวอย่างเหล่านี้ล้วนเป็น
                ศาสนาพุทธให้ความส�าคัญกับแนวคิดเรื่องปัญญาเป็นอย่างมาก ดังปรากฏ ความรู้ทางวิชาการ  ครูมีหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจแก่ศิษย์ให้เกิดปัญญา

          ในบริบทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นพระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้า ปัญญาบารมี  จนสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน หรือใช้ประกอบสัมมาชีพในอนาคต
          ในมโหสถชาดก  หลักธรรมเรื่องปัญญาในไตรสิกขา  รวมถึงพุทธศาสนสุภาษิต   การถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการจึงถือเป็นภารกิจหลักและส�าคัญที่สุด

          เช่น “นัตถิ ปัญญาสมาอาภา”  ซึ่งหมายถึง แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี  และ  ในบทบาทของครู เพราะความรู้ต่างๆ เหล่านี้นอกจากศิษย์จะน�าไปใช้เสริมสร้าง
          “ปัญญา โลกัสมิ ปัชโชโต” อันหมายถึง ปัญญาเป็นแสงสว่างแห่งโลก ปัญญานั้นคือ และพัฒนาศักยภาพของตนเองแล้ว ยังมีส่วนส�าคัญที่จะช่วยพัฒนาสังคม

          ความรอบรู้ ความรู้ทั่ว รู้ถึงเหตุและผล รู้ถึงบาปบุญคุณโทษ รู้สิ่งควรท�าควรเว้น  และประเทศชาติอีกด้วย
          รวมทั้งรู้จักการแก้ปัญญา จากลักษณะของปัญญาที่มีนัยความหมายไม่ได้จ�ากัด              ครูผู้แนะแนวทางตามครรลอง

          เฉพาะการมีความรู้ในต�ารานี้เองที่ท�าให้แนวคิดเรื่องปัญญามีความส�าคัญยิ่ง       เนื่องด้วยระยะเวลาที่ยาวนานในการศึกษา  มนุษย์ผูกพันกับการศึกษา
          ด้วยเหตุนี้จึงมักมีการน�า “ปัญญา” ไปอุปมาอุปไมยกับ “แสงสว่าง” เพื่อสร้างภาพ  ใช้ชีวิตเปลี่ยนวัยจากเด็กสู่วัยรุ่นจวบจนบรรลุนิติภาวะ ช่วงดังกล่าวนี้เอง

          เปรียบว่าแสงสว่างแห่งปัญญาจะช่วยขจัดความเขลา  ความลุ่มหลง  และ       ที่มีความส�าคัญในการหล่อหลอมพฤติกรรมของมนุษย์ที่จะค่อยๆ เรียนรู้
          ความมืดบอดแห่งจิตใจ เสมือนแสงอาทิตย์ที่ยังความสว่างไสวให้แก่สรรพสัตว์  และซึมซับสิ่งต่างๆ อยู่ตลอดเวลาทั้งสิ่งดีและไม่ดี ครูจึงเป็นผู้มีบทบาทส�าคัญ

          และผืนโลก                                                            ในฐานะ “แม่พิมพ์” คือเป็นแบบอย่างที่ดีให้ศิษย์ได้ยึดถือและซึมซับเป็นแนวทาง
                มนุษย์ทุกคนเกิดมาพร้อมกับการแสวงหาปัญญาซึ่งเป็นสิ่งที่         ในการปฏิบัติตน รวมทั้งครูต้องหมั่นเอาใจใส่อบรมกริยามารยาท สังเกต

          ไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมีมาแต่ก�าเนิด แต่เกิดจากการเรียนรู้และ  พฤติกรรมของศิษย์ให้เป็นไปตามครรลองที่ดีงามของสังคม ประเพณี และ
          ฝึกฝนไม่ว่าทางกายหรือจิตใจ  ตั้งแต่แรกเกิดมนุษย์ล้วนจ�าเป็นต้องพึ่งพิงพ่อแม่   วัฒนธรรม  หากพบว่าพฤติกรรมใดของศิษย์เบี่ยงเบนไปจากครรลอง  ครูก็ย่อม

          ในการเติบโตและเรียนรู้โลก จนกระทั่งเจริญวัยในอีกขั้นจ�าเป็นต้องเข้าสู่   เป็นอีกหนึ่งแรงส�าคัญที่จะแนะแนวทางที่ถูกที่ควร ยังปัญญาให้เกิดแก่ศิษย์
          ระบบการศึกษาที่มีครูเป็นผู้มีบทบาทส�าคัญ ระยะเวลาอันยาวนานในการศึกษา  คือให้รู้ว่าสิ่งใดควรประพฤติ สิ่งใดควรงดเว้น ให้เข้าใจเหตุและผลว่าเมื่อ

          ตั้งแต่อนุบาล ปฐมวัย มัธยมฯ จวบจนอุดมศึกษานี้เองที่มนุษย์ได้แสวงหาปัญญา  ประพฤติตนอย่างไรไม่ว่าดีหรือเลว ผลที่ตามมาก็ย่อมเป็นอย่างนั้น
          โดยมีครูเป็นผู้ประสิทธิ์ประสาททั้งความรู้  อบรมจริยา  รวมทั้งขัดเกลาจิตใจ             ครูผู้ขจัดเขลาและขัดเกลา

          ข้อความตอนหนึ่งในพระราโชวาทของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
          สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการศึกษา            พฤติกรรมต่างๆ  ที่แสดงออกของมนุษย์ล้วนแต่สะท้อนความคิด

          จากวิทยาลัยครู ณ อาคารใหม่สวนอัมพร เมื่อวันพุธที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2526  ความคิดจึงเปรียบเสมือนโรงงานที่มีพฤติกรรมเป็นผลิตภัณฑ์  ดังนั้นประเด็น
          กล่าวถึงบทบาทของครูว่า  “...อาชีพครูถือว่าส�าคัญอย่างยิ่ง เพราะครูมี  เกี่ยวกับความคิดจึงมีความส�าคัญมาก  การที่ศิษย์มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไป

          บทบาทส�าคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญมั่นคง และก่อนจะพัฒนาประเทศ จากครรลองของสังคม ย่อมสะท้อนมโนทัศน์บางอย่างในตัวเขา เช่น เพราะ
          ให้เจริญมั่นคงได้นั้น จะต้องพัฒนาคนซึ่งได้แก่เยาวชนของชาติเสียก่อน  ความเขลา  ความลุ่มหลง  หรือความไม่รู้  เป็นต้น  ครูจึงมีบทบาทในการขจัดเขลา

          เพื่อให้เยาวชนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณค่าสมบูรณ์ทุกด้าน” ด้วยบทบาท  และขัดเกลาความคิดนั้น ให้เห็นถูกเห็นควร ให้รู้บาปบุญคุณโทษ ถ้าความคิด
          ดังกล่าวนี้เอง  ครูจึงได้รับการยกย่องให้เป็น “ผู้ให้แสงสว่างแห่งปัญญา”  แก่ศิษย์  และส�านึกของศิษย์ดี  พฤติกรรมที่แสดงออกมาก็ย่อมงดงามตามมา  ดังข้อความ

                ดวงอาทิตย์ยังโลกให้เจิดจ้าด้วยแสงฉันใด ครูก็ยังศิษย์ให้กระจ่างด้วย ส่วนหนึ่งในบทนมัสการอาจาริยคุณ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
          ปัญญาฉันนั้น บทบาทของครูที่มีต่อศิษย์ นอกจากการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ กล่าวถึงบทบาทของครูว่า  “ขจัดเขลาบรรเทาโม-    หะจิตมืดที่งุนงม    กังขา

          ที่จะเป็นประโยชน์ในการด�ารงชีวิตหรือใช้ประกอบสัมมาชีพภายหน้าแล้ว  ณ  อารมณ์  ก็สว่างกระจ่างใจ”  สะท้อนให้เห็นว่าครูคือผู้ที่ช่วยก�าจัดความเขลา
          ครูยังต้องรู้อบรมกริยามารยาทศิษย์ให้สอดคล้องตามครรลองประเพณีและ ความลุ่มหลง และความไม่รู้ ท�าให้เกิดแสงสว่างปัญญา

          วัฒนธรรมที่ดีงาม รวมทั้งขัดเกลาความคิดให้รู้ผิดรู้ชอบ ทั้งนี้การที่ครูจะ    หากจะเปรียบปัญญาคือแสงสว่าง  พระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้า
          ท�าให้ศิษย์เกิดปัญญาได้นั้น ไม่ใช่เพียงแค่บอกกล่าวให้เขาต้องท�าเช่นนี้หรือ ก็คงเทียบได้แสงสว่างจากดวงอาทิตย์ที่ส่องทั่วสว่างน�าทางทุกสรรพสัตว์

          เป็นเช่นนั้น  แต่ครูต้องสร้างความเชื่อมั่นแก่ศิษย์ด้วยการเป็นแบบอย่าง  ส่วนปัญญาธิคุณของครูแม้ไม่อาจเปรียบได้กับพระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้า
          แห่งปัญญาก่อน  แล้วแสงสว่างแห่งปัญญานั้นเองที่จะฉายน�าทางศิษย์ให้ แต่ครูก็เป็นแสงเทียนอันวิเศษ  เป็นเทียนเล่มแล้วเล่มเล่าที่ร่วมผลัดกัน

          ด�าเนินไปตามครรลองที่ควร เหมือนกับที่ดวงอาทิตย์มีแสงสว่างในตัวเอง  ส่องน�าทางสานุศิษย์  เผื่อแผ่แสงสว่างแห่งปัญญาของตนยังศิษย์ให้เกิดปัญญาตาม
          แล้วเปล่งแสงส่องดับมืดมนให้กับสรรพสัตว์                              เกิดความรอบรู้วิชาการ ทั้งแนะน�าครรลองให้ศิษย์ครองตนเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม

                     ครูผู้ให้แสงสว่างแห่งปัญญา “วิชาการ”                      รวมทั้งยังช่วยขัดเกลาความคิดให้งดงาม  พุทธศาสนสุภาษิตที่ยกมาข้างต้นว่า

                                                                               “ปัญญา โลกัสมิ ปัชโชโต” ปัญญาเป็นแสงสว่างแห่งโลกนั้น นับแต่บรรพกาล

                ครูคือผู้ทรงความรู้ในวิชาการสาขาใดสาขาหนึ่งซึ่งวิชาเหล่านี้ล้วน จวบจนปัจจุบันพระคุณของครูกระจ่างชัดตลอดมาว่า “ครูได้ส่องสว่างแล้ว
          สัมพันธ์กับหลักสูตรต่างๆ ตามแต่สถาบันและระดับการศึกษา เช่น ความรู้  ซึ่งปัญญาแก่ศิษย์”  เทียนเล่มแล้วเล่มเล่าที่ผลัดเปลี่ยนละลายแท่งให้แสงแล้วมอดดับ

          เรื่องการบวกลบคูณหารเลขของนักเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษา   อย่าให้เทียนเหล่านั้นลับไปโดยเปล่าประโยชน์  ขอให้ทุกคนร่วมใจกันส่องแสง
          ความรู้เรื่องเซลล์พืชและสัตว์ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับ เพื่อธ�ารงสังคมให้อุดมด้วยปัญญา
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12