Page 6 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 16 วันที่ 30 กรกฎาคม - 5 สิงหาคม 2561
P. 6

๖                                                       ข่าวรามคำาแหง                 วันที่ ๓๐ กรกฎาคม - ๕ สิงหาคม ๒๕๖๑



             มุมมองกฎหม�ย กรณีสิทธิบัตรย�ว�ลซ�ร์แทน                                                    บริก�รก�รศึกษ� สวป.


                             (Varsantan) ตอนที่ 2


            อาจารย์กิตติยา  พฤกษารุ่งเรือง                                                คณะนิติศาสตร์  การแก้ไขข้อมูลทะเบียนประวัตินักศึกษา
                ในตอนที่  1  ผู้เขียนได้กล่าวถึงแนวทางการคุ้มครอง                                           ✴   สถานที่ให้บริการ
          สิทธิบัตรภายใต้พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522                                                   อาคาร สวป. ชั้น 2 มหาวิทยาลัยรามค�าแหง

          ส่วนในตอนที่ 2 นี้ ผู้เขียนจะขอกล่าวถึงรายละเอียดข้อเท็จจริง                                แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

          บางประการที่เกิดขึ้นในคดีสิทธิบัตรยาวาลซาร์แทน                                              โทรศัพท์ 0-2310-8606-7
                                                                                                            ✴ ระยะเวลาเปิดให้บริการ

                บริษัทยาข้ามชาติที่คิดค้นยาวาลซาร์แทน ซึ่งเป็นยารักษาโรค                                        1.  วันจันทร์ ถึง วันศุกร์
          ความดันโลหิตสูงและป้องกันหัวใจล้มเหลว  ได้ท�าการจดสิทธิบัตร                                              (เว้นวันหยุดที่ทางราชการออกให้)

          ในตัวผลิตภัณฑ์ยา และสิทธิบัตรกรรมวิธีในการผลิตยาเม็ด ในสหรัฐอเมริกาและในหลายๆ ประเทศทั่วโลก           2.  วันเสาร์และวันอาทิตย์
          รวมถึงในประเทศไทยด้วย ได้รับการคุ้มครองเป็นเวลายาวนานถึง 20 ปี เมื่อใกล้จะหมดอายุการคุ้มครองแล้ว            เปิดบริการ เฉพาะช่วงสอบ

          ก็น�ากรรมวิธีที่คล้ายคลึงกันไปจดสิทธิบัตรกรรมวิธีการผลิตยา (ฉบับที่ 2) เพิ่มเติม โดยอาศัยกลยุทธ์         3.  ไม่มีพักกลางวัน

          “รูปแบบการจดสิทธิบัตรไม่จบสิ้น” (Evergreening Patent) ด้วยวัตถุประสงค์ที่ต้องการจะยืดอายุ         ✴ เวลาเปิดให้บริการ  08.30-16.00 น.
                                                                                                            ✴ ขั้นตอนของนักศึกษาที่ขอรับบริการ
          คุ้มครองต่อไปอีก  20  ปี  ซึ่งในฝั่งบริษัทยาในประเทศไทยเห็นว่าสิทธิบัตรคุ้มครองตัวยาหมดอายุลง     การแก้ไขด้วยตนเองที่อาคาร สวป.ชั้น 2 ช่อง 5 ปฏิบัติดังนี้

          จึงได้มีการผลิตยาวาลซาร์แทนเพื่อออกจ�าหน่าย  แต่กลับถูกบริษัทยาข้ามชาติฟ้องร้องว่าละเมิดสิทธิบัตร     1.  กรอกแบบยื่นค�าขอแก้ไขข้อมูลประวัติ-
          กรรมวิธีการผลิตยา (ฉบับที่ 2)                                                               นักศึกษา พร้อมบัตรประจ�าตัวนักศึกษา บัตรประจ�าตัว

                โดยนายกสภาเภสัชกรรมได้กล่าวเกี่ยวกับคดีนี้ท�านองว่า “ศาลฎีกาได้ใช้กระบวนการพิจารณา    ประชาชน และส�าเนาบัตรประจ�าตัวประชาชนที่

          ทรัพย์สินทางปัญญาในเรื่องนี้ตามมาตรฐานสากล โดยใช้ข้อเท็จจริงว่ากระบวนการผลิตยาเม็ด          รับรองส�าเนาถูกต้องแล้ว
          ที่ถูกน�าไปจดสิทธิบัตรคุ้มครองนั้นเป็นกระบวนการผลิตที่มีสอนเป็นปกติให้กับนักศึกษา                 2.  ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่แก้ไข

          ของคณะเภสัชศาสตร์ ไม่ใช่เรื่องใหม่ ไม่มีอะไรใหม่ ทุกคนที่มีความรู้ทางเภสัชกรรมก็สามารถท�าได้   จากหน้าจอคอมพิวเตอร์ ณ จุดบริการ
                                                                                                            3.  ลงรหัสประจ�าตัวนักศึกษา ชื่อ-ชื่อสกุล
          ไม่ควรได้สิทธิบัตรคุ้มครอง  จึงขอให้ศาลฎีกาพิจารณายกเลิกการจดสิทธิบัตรฉบับนี้นับเป็นเรื่องน่าดีใจ     และประเภทของการขอรับบริการในบัญชีลงนาม

          ที่คนไทยได้ลุกขึ้นสู้ฟ้องร้องจนชนะคดีในศาลฎีกาได้และนับเป็นครั้งแรกที่เราชนะในการต่อสู้     ของหน่วยงาน

                                              2
          การผูกขาดสิทธิบัตรยา ที่มีมาโดยตลอด”  จากค�ากล่าวของนายกสภาเภสัชกรรม ตีความได้ท�านองว่า           4.  รับคืนบัตรประจ�าตัวนักศึกษา  และ
          คดีนี้ฝ่ายบริษัทยาในประเทศไทย น่าจะโต้แย้งพิพาทกันในเรื่องที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของสิทธิบัตร   บัตรประจ�าตัวประชาชน

          ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ ว่าสิทธิบัตรกรรมวิธีการผลิตยา (ฉบับที่ 2) ว่าไม่มีความใหม่และไม่มีขั้นการ  การลาออกจากการเป็นนักศึกษา

          ประดิษฐ์ที่สูงขึ้น                                                                                ✴ สถานที่ให้บริการ
                ค�าว่า  “การประดิษฐ์ขึ้นใหม่”  ได้แก่  “การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นงานที่ปรากฏอยู่แล้ว” (มาตรา 6) ส่วน      อาคาร สวป. ชั้น 2 มหาวิทยาลัยรามค�าแหง

          “การประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น” ได้แก่ “การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นที่ประจักษ์โดยง่ายแก่บุคคล  แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
                                                                                                      โทรศัพท์ 0-2310-8606-7
          ที่มีความช�านาญในระดับสามัญส�าหรับงานประเภทนั้น” (มาตรา 7) เมื่อฝ่ายบริษัทยาในประเทศไทย           ✴ ระยะเวลาเปิดให้บริการ
          สามารถแสดงให้เห็นได้ว่า  สิทธิบัตรกรรมวิธีการผลิตยา  (ฉบับที่  2)  เป็น  “กระบวนการผลิตที่มีสอน        1. วันจันทร์ ถึง วันศุกร์

          เป็นปกติให้กับนักศึกษาของคณะเภสัชศาสตร์”  จึงเป็นงานที่ปรากฏอยู่แล้ว  ส่งผลให้ขาดความใหม่             (เว้นวันหยุดที่ทางราชการก�าหนด)
          และเมื่อแสดงให้เห็นได้ความว่า “ทุกคนที่มีความรู้ทางเภสัชกรรมก็สามารถท�าได้” จึงเป็นที่ประจักษ์       2. วันเสาร์และวันอาทิตย์

          โดยง่ายแก่บุคคลที่มีความช�านาญในระดับสามัญส�าหรับผู้ที่ผลิตยาด้วยกัน ส่งผลให้ไม่มีขั้น                เปิดบริการเฉพาะช่วงสอบ

          การประดิษฐ์สูงขึ้น ซึ่งอาจท�าให้ไม่ครบเงื่อนไขของการขอรับสิทธิบัตร ศาลฎีกาจึงมีแนวทาง               3. ไม่มีพักกลางวัน
                                                                                                            ✴ เวลาเปิดให้บริการ  08.30-16.00 น.
          ในการท�าค�าพิพากษาให้เพิกถอนสิทธิบัตรยาวาลซาร์แทน แต่อย่างไรก็ตามรายละเอียดอื่นๆ อาทิเช่น         ขั้นตอนของนักศึกษาที่ขอรับบริการ

          กระบวนการกล่าวอ้างโต้แย้ง  กระบวนการน�าสืบพยานหลักฐาน  คงต้องคอยติดตามเมื่อค�าพิพากษา       การลาออกจากการเป็นนักศึกษาด้วยตนเองที่
          ฎีกาเรื่องดังกล่าวได้ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อไป                                                    มหาวิทยาลัย ปฏิบัติดังนี้

                จากค�าตัดสินของศาลฎีกาที่ให้เพิกถอนสิทธิบัตรยาวาลซาร์แทน ท�าให้บริษัทยาในประเทศไทย          1. กรอกแบบยื่นค�าขอลาออกจากการเป็นนักศึกษา

          สามารถผลิตตัวยาดังกล่าวออกมาจ�าหน่ายได้  โดยไม่ละเมิดสิทธิบัตร  เมื่อตัวยาดังกล่าวไม่ถูกผูกขาด     2. ยื่นบัตรประจ�าตัวนักศึกษา หรือบัตรประจ�าตัว-
          โดยบริษัทยาต่างชาติอีกต่อไป  น่าจะส่งผลให้ต้นทุนในการผลิตยาเพื่อรักษาผู้ป่วยลดลง  เป็นผลดีต่อ  ประชาชนฉบับจริง  พร้อมส�าเนาจ�านวน  1  ฉบับ

          วงการสาธารณสุข  อีกทั้งค�าตัดสินในครั้งนี้อาจถูกใช้เป็นแนวทางในการฟ้องหรือต่อสู้ในคดีเกี่ยวกับ  ที่อาคารสวป.ชั้น 2 ช่อง 5
                                                                                                            3. กรณีไม่มีเอกสารตามข้อ 2 ให้ใช้ ม.ร. 2 แทน

          การขอเพิกถอนสิทธิบัตรยาที่อาศัยกลยุทธ์  “รูปแบบการจดสิทธิบัตรไม่จบสิ้น”  (Evergreening  Patent)      หมายเหตุ การปิดประกาศบัญชีรายชื่อนักศึกษา

                                                                                                      ลาออกในแต่ละเดือนเพื่อให้นักศึกษาที่ลาออก
          2 ประชาไท, ฎีกาสั่งถอนสิทธิบัตรผลิตยาความดันโลหิตสูง-หัวใจ หลังต่อสู้กว่า 7 ปี ชี้วิธีผลิตไม่ใช่วิธีใหม่ [Online], Available
          URL: https://prachatai.com/journal/2018/05/76812, 2561 (พฤษภาคม, 9).; ไทยโพสต์, ศาลฎีกาสั่งถอนสิทธิบัตรผลิตยา   ตรวจสอบรายชื่อได้ที่ฝ่ายลงทะเบียนประวัติ

          ความดันโลหิตสูง-หัวใจ หลังต่อสู้กว่า 7 ปี ชี้วิธีผลิตไม่ใช่วิธีใหม่ [Online], Available URL: https://www.thaipost.net/main/  นักศึกษา สวป.ชั้น 2 ช่อง 5 และที่บอร์ดทางขึ้นชั้น 2
          detail/8833, 2561 (พฤษภาคม, 9).                                                              และลงเว็บไซต์ สวป. ในแต่ละเดือน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11