Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 16 วันที่ 30 กรกฎาคม - 5 สิงหาคม 2561
P. 5

ข่าวรามคำาแหง
          วันที่ ๒๕ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๙
          วันที่ ๓๐ กรกฎาคม - ๕ สิงหาคม ๒๕๖๑                      ข่าวรามคำาแหง                                                               ๕ ๕


                    เศรษฐศาสตร์ 101





            รศ.อสัมภินพงศ์  ฉัตราคม                           คณะเศรษฐศาสตร์

                          ตอน ต้มยำ�กุ้ง (3)                                              บ้าน      (หญ่า)


                 การที่ทุนส�ารองระหว่างประเทศของไทยซึ่งจ�าเป็นต้องมีไว้ใช้หนุนหลัง  ผศ.ดร.สรตี  ปรีชาปัญญากุล                     คณะมนุษยศาสตร์

           ค่าเงินบาทและช�าระหนี้ระหว่างประเทศร่อยหรอลงจนใกล้จะหมดเนื่องจาก

           การน�าดอลลาร์จากทุนส�ารองฯ นี้ไปป้องกันการโจมตีค่าเงิน ประกอบกับการไหลออก     ในแต่ละบ้าน     (หญ่า)  มีหลายห้อง  ประกอบด้วย
           ของเงินตราต่างประเทศเนื่องจากเจ้าหนี้เรียกคืนเงินกู้ที่ธุรกิจไทยไปกู้ยืมไว้   (ฝ่อง  หงู)  ห้องนอน     (ฝ่อง  ค้าจ)  ห้องรับแขก
           ท�าให้ประเทศไทยในปี  2540  อยู่ในฐานะที่เรียกได้ว่าล้มละลายเพราะไม่มี   (ฝ่อง เบ๊ป) ห้องครัว      (ฝ่อง ตั๊ม) ห้องน�้า ในแต่ละห้องมีรายละเอียด

           เงินตราต่างประเทศเพียงพอจะช�าระหนี้ได้ รัฐบาลในขณะนั้นจึงต้องหันไป   เฉพาะของตัวเอง เราจะได้กล่าวถึงในครั้งต่อ ๆ ไป

           พึ่งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund หรือ IMF)       บ้านในประเทศเวียดนาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมือง จะสร้างเป็นบ้าน
           ซึ่งเราเป็นสมาชิกอยู่โดยเจรจาขอกู้เงินซึ่งก็ได้มา  14,000  ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ   (ในท�านองตึก)  ทรงสูง  หน้าแคบ  แต่มีความลึก  บ้านในลักษณะนี้เราเรียกว่า
           ในรอบแรก และยังต้องกู้อีกหลายรอบ                                                  (หญ่า กาว เติ่ง) โดยแต่ละหลังจะได้รับการจัดสรรพื้นที่ด้านหน้า

                 ผมจะไม่เขียนถึงการที่กว่าเราจะก้มหน้าก้มตาหาเงินมาจ่ายหนี้  IMF

           ว่าล�าบากยากเย็นแค่ไหน เพราะเงื่อนไขที่เราต้องรับปากกับ IMF ที่เข้ามา  ที่ติดถนนเท่า ๆ กัน ตึกเหล่านี้จะสร้างลึกสุดที่ดินของตนเอง ส่วนความสูงนั้นขึ้น
           ควบคุมการเงินการคลังของไทยต่างหากที่น�าไปสู่หายนะของเศรษฐกิจไทย      อยู่กับฐานะและลักษณะการใช้งานของตึกแต่ละหลัง คนเวียดนามใช้ศัพท์ค�า
           อย่างแท้จริง                                                         ว่า    (หญ่า) เรียกทั้งบ้าน และตึก หรืออาคารปลูกสร้าง

                 ในตอนที่แล้วผมเขียนไว้ว่าวิกฤตที่แท้จริงนั้นอยู่ที่สถาบันการเงิน                            ตัวอย่าง

           เพราะในยุคนั้นมีธนาคารพาณิชย์ของเอกชนมากมายหลายแห่งปล่อยกู้ให้กับ                          (หญ่า ส่ง)   บ้านกว้าง
           ญาติสนิทมิตรสหายโดยไม่มีหลักทรัพย์ค�้าประกันอย่างเพียงพอ เมื่อเกิดเป็นหนี้เสีย             (หญ่า เซียง)  บ้านเดี่ยว
           ขึ้นมาสินทรัพย์ที่ยึดไว้ก็ไม่คุ้มค่า ส่วนแบงก์ชาติที่ก�ากับดูแลอยู่นั้นก็ไม่อยากให้

           ธนาคารเหล่านี้ล้มเพราะกลัวจะท�าให้ประชาชนไม่มั่นใจในสถาบันการเงิน ดังนั้น                  (หญ่า ค้าจ)  บ้านรับรอง

           แบงก์ชาติจึงใช้หน่วยงานที่เรียกกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน               (หญ่า เถอะ)  โบสถ์ อาคารที่สร้างขึ้นภายในวัด
           (เรียกสั้น ๆ ว่ากองทุนฟื้นฟูฯ) เข้ามาอัดฉีดสภาพคล่องคือน�าเงินมาฝากกับ                     (หญ่า ห่าง)  ร้านค้า ร้านอาหาร บริษัท
           สถาบันการเงินที่มีปัญหาอยู่เป็นระยะ ๆ รวมแล้วเป็นเงินนับแสนล้านบาท

           ซึ่งจะสูญไปหมดในภายหลัง

                 การที่  IMF  ก�าหนดให้รัฐบาลควบคุมหนี้เสียหรือที่เรียกกันว่าหนี้ที่     หญ่า ห่าง หนอน หลา หล่า หญ่า ห่าง เจวียน ฝุก หวุ หญึง หมอน อัน
           ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ท�าให้ธนาคารพาณิชย์หลายแห่งต้องถูกควบรวมกิจการ  เจวี่ยน ถง เหวียต นาม
           หรือหาผู้ร่วมทุนจากต่างประเทศ โดยบางแห่งราคาหุ้นถูกลดเหลือหุ้นละ

           1 สตางค์เท่านั้น ในช่วงที่ว่านี้จึงมีธนาคารพาณิชย์หลายแห่งต้องเปลี่ยนชื่อ     ร้านอาหารหนอนหลา เป็นร้านที่เตรียมอาหารพื้นบ้านของประเทศเวียดนาม

           หรือถูกยุบรวมกันเข้าไปอยู่ในชื่อใหม่ และบางแห่งก็ถูกขายไปให้กับต่างชาติ  ไว้คอยบริการ
                 นอกจากธนาคารพาณิชย์แล้ว  ในยุคก่อนปี  2540  ยังมีสถาบันการเงิน                       (หญ่า เนื้อก)  ประเทศ รัฐ
           อีกประเภทหนึ่งที่เฟื่องฟูมากคือบริษัทเงินทุนหรือที่เรียกกันว่าไฟแนนซ์

           ทั้งนี้เนื่องจากแบงก์ชาติและรัฐบาลยุคนั้นไม่ยอมให้มีการตั้งธนาคารพาณิชย์ใหม่      หญ่า เนื้อก หล่า โต๋ จึ๊ก กาว เหญิ้ต กว๋าน หลี ก๊วก ซา เหวียต นาม

           แต่เนื่องจากความต้องการใช้บริการทางการเงินมีมากขึ้นอย่างรวดเร็ว             รัฐเป็นองค์กรบริหารสูงสุดแห่งชาติเวียดนาม
           ตามภาวะเศรษฐกิจที่เติบโตสูง จึงมีผู้อาศัยช่องว่างที่ยังไม่มีกฎหมายควบคุมชัดเจน                     (หญ่า ห่าง กุง ดิ่ง)  ร้านอาหารชาววัง
           (ปัจจุบันมีแล้ว)  ตั้งบริษัทเงินทุนขึ้นท�าหน้าที่รับฝากเงินและปล่อยกู้เหมือน

           ธนาคารพาณิชย์  ที่ส�าคัญคือจ่ายดอกเบี้ยเงินฝากให้สูงมากจนคนที่พอมีเงิน

           กับเขาบ้างนิยมน�าเงินมาฝากกัน  บริษัทเงินทุนเหล่านี้ยังน�าหุ้นเข้าขายใน     เอ๋อ เฮว้ ก๊อ เหญี่ยว หญ่า ห่าง กุง ดิ่ง
           ตลาดหลักทรัพย์เสียด้วยและก็มีการปั่นราคาหุ้นกันสนุกมือท�าให้มูลค่าหุ้น          ที่เว้มีร้านอาหารชาววังจ�านวนมาก
           สูงเกินจริงไปมาก ซึ่งก็เป็นส่วนส�าคัญของฟองสบู่ที่จะแตกในอีกไม่ช้า                         (หญ่า วัว)   กษัตริย์

                 หายนะทางเศรษฐกิจที่แท้จริงมาถึงเมื่อ IMF ให้รัฐบาลเข้ามาดูแลว่า                          (หญ่า วัว ถาย ลาน)   กษัตริย์แห่งประเทศไทย

           บริษัทเงินทุนเหล่านี้มีความมั่นคงทางธุรกิจหรือไม่ ซึ่งเมื่อรัฐบาลตั้งคณะกรรมการ            (หญ่า เทอ)   กวี
           เพื่อการปฏิรูปสถาบันการเงิน (เรียกสั้น ๆ ว่าปรส.) เข้ามาจัดการแล้วพบว่า
           สถาบันการเงินเหล่านี้มีปัญหาก็เลยสั่งปิดถาวรไปเสีย  56  แห่ง  เรียกว่าปิด

           ไปเกือบหมดเลยทีเดียวเพราะเหลือให้ด�าเนินกิจการอยู่ได้แค่ 2 แห่งเท่านั้น      ซวน กวิ่ง หล่า โหมต หญ่า เทอ หนือ เหวียต นาม

           เศรษฐกิจไทยเข้าสู่กลียุคในตอนนี้เอง                (อ่านต่อหน้า 11)         ซวน กวิ่ง เป็นกวีสตรีผู้หนึ่งของประเทศเวียดนาม
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10