Page 11 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 12 วันที่ 2 - 8 กรกฎาคม 2561
P. 11

วันที่ ๒ - ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑                               ข่าวรามคำาแหง                                                             ๑๑




             ผลงานวิจัย ม.ร. ได้รับรางวัลระดับชาติ                                                      ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ
                                                                                                       รับสมัครนักศึกษาฝึกอาชีพ RAM 3000





                                                                                                             ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ

                                                                                                       ขอเชิญนักศึกษาที่มีหน่วยกิตสะสมตั้งแต่
                                                                                                       75 หน่วยกิตขึ้นไป ประสงค์จะเพิ่มประสบการณ์

                                                                                                       ด้านวิชาชีพก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน  สามารถ

                                                                                                       ลงทะเบียนในวิชา  RAM  3000  สหกิจศึกษา
                                                                                                       (ทดแทนในหมวดวิชาเลือกเสรี  9  หน่วยกิต)
                 หน่วยวิจัยไลเคน ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง ส่งผลงานวิจัย ใน   หรือการฝึกอาชีพ  (แบบไม่มีหน่วยกิต)  กับ
           การประชุมวิชาการระดับชาติการประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 (The 12th      องค์กรผู้ใช้บัณฑิตทั้งภาครัฐและเอกชน

           Botanical Conference of Thailand: BCT12) ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ระหว่าง    ประจ�าปีการศึกษา  2561
           วันที่ 14 - 16  มิถุนายน 2561 จ�านวน 7 เรื่อง ประกอบด้วย ภาคบรรยาย 5 เรื่อง และ ภาคโปสเตอร์ 2 เรื่อง       นักศึกษาสนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

           ซึ่งผลงานวิจัยดังกล่าว ได้รับรางวัลระดับดี ในภาคบรรยาย (Oral presentation) จ�านวน 2 รางวัล ได้แก่
                 1. นายพิทักษ์ชัย เฟืองแก้ว นักศึกษาบัณฑิตศึกษาและนักวิจัยด้านนิเวศวิทยาของไลเคน น�าเสนอ  และสมัครได้ที่ศูนย์สหกิจศึกษา และพัฒนาอาชีพ

           ในหัวข้อ “การศึกษาระยะยาว เรื่องการเติบโตและการเหลือรอดของไซยาโนไลเคน 4 ชนิด บริเวณอุทยาน   อาคารกิจกรรมนักศึกษา ชั้น 1 โทร. 0-2310-8503
           แห่งชาติเขาใหญ่ ประเทศไทย”                                                                  หรือ www.ram3000.ru.ac.th

                 2. ดร.วสันต์ เพิงสูงเนิน นักวิจัยด้านอนุกรมวิธานของไลเคน น�าเสนอในหัวข้อ “ความหลากหลาย
           ของไลเคนวงศ์ Graphidaceae ในป่าชายเลน เกาะช้าง จังหวัดตราด” ซึ่งเป็นความภูมิใจของหน่วยวิจัยไลเคน   เศรษฐศาสตร์ 101       (ต่อจากหน้า 5)

           ที่ผลิตผลงานจนเป็นที่ยอมรับในแวดวงวิชาการดังกล่าว  โดยการประชุมดังกล่าวมีอาจารย์  นักวิจัย  นักวิชาการ      เขียนถึงข้อเสียไปมากแล้ว ลองมาดูข้อดีกันบ้าง
           นักศึกษา นักเรียน และ ผู้สนใจในสาขาที่เกี่ยวข้องกับพฤกษศาสตร์ เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่า 200 คน   ข้อดีส�าคัญก็คือท�าให้ประเทศไทยเรากลายเป็น

           มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และความคิดเห็น ตลอดจนก่อให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง   ผู้ส่งออกข้าวที่ส�าคัญของโลกตั้งแต่นั้นมาจนปัจจุบัน
           สถาบันและบุคลากร เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของงานวิจัยด้านพฤกษศาสตร์และเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน   สร้างความมั่งคั่งร�่ารวยให้แก่คนจ�านวนมาก เพียงแต่

           ของสังคมไทยบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
                                                                                                      ชาวนาซึ่งเป็นต้นน�้านั้นยังได้รับผลดีไปน้อยมาก

           คณาจารย์ ม.ร. รับทราบนโยบายการเรียนการสอนส่วนภูมิภาค                       (ต่อจากหน้า 12)  เพราะความมั่งคั่งไปกระจุกอยู่ที่คนกลางเสียมากกว่า
                                                                                                      อย่างไรก็ตามถ้ามองในภาพรวมหรือเศรษฐกิจมหภาคแล้ว
                ส่วนเรื่องต�าราเรียน  ขณะนี้ทางส�านักพิมพ์ได้แจ้งว่าการจัดพิมพ์มีต้นทุนสูงขึ้น  แต่มหาวิทยาลัย   ความมั่งคั่งของชาติก็เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งเป็น
          ยังขายราคาเท่าเดิมและพิมพ์จ�านวนน้อยลง โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับความต้องการของนักศึกษา และ    ผลจากการส่งออกและการที่เราได้เปรียบดุลการค้า

          ให้ส�านักพิมพ์ส�ารวจว่ามีต�าราครบทุกกระบวนวิชา  และเป็นต�าราที่มีเนื้อหาทันสมัยหรือไม่  รวมถึงต�ารา    ต่อเนื่องมายาวนานก็ท�าให้มีทุนส�ารองเงินตรา
          e-Learning, e-Book ก็ต้องปรับให้เป็นปัจจุบันด้วย”                                           ทั้งในรูปของทองค�า และเงินตราสกุลหลักสะสม

                อธิการบดี  ม.ร.  กล่าวต่อว่าเรื่องการเข้าสอนของอาจารย์นั้น  ขอฝากให้อาจารย์ใส่ใจกับการเข้าสอน   อยู่เป็นจ�านวนมาก
          ให้ครบทุกคาบ ไม่ปล่อยให้นักศึกษาที่ตั้งใจมาเข้าเรียนแล้วผิดหวัง หลายคนต้องเดินทางมาไกล แต่มาเรียน

          แล้วไม่เจออาจารย์ผู้สอน  หรือบางแห่งเปิดเทปบรรยาย แต่เป็นเทปที่ล้าหลัง จึงอยากให้มาบันทึกเทปใหม่      คนที่คิดว่าถ้าเราไม่เปิดประตูการค้ากับชาติตะวันตก
          ให้มีเนื้อหาที่ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบันให้ครบทุกกระบวนวิชา  ส่วนการเปลี่ยนอาจารย์ผู้บรรยายนั้น ไม่ควร   โดยยังคงอยู่ในระบบท�ามาหากินเลี้ยงตัวเอง

          มีการเปลี่ยน  หรือหากมีความจ�าเป็น  ต้องแจ้งให้คณบดีหรือรองอธิการบดีฝ่ายสาขาฯ  นั้นๆ  ได้รับทราบ   แบบพอกินพอใช้นั้นคงต้องกลับไปคิดใหม่นะครับ
          ล่วงหน้า                                                                                    เพราะนอกจากจะเป็นไปไม่ได้เนื่องจากถ้าเราไม่ยอม

                “มหาวิทยาลัยมีนโยบายพัฒนาสื่อการเรียนการสอนส่วนภูมิภาครูปแบบใหม่  เป็นระบบ  Google    เปิดประเทศในตอนนั้นก็มีหวังตกเป็นอาณานิคม
          For  Education  ซึ่งระบบจะเริ่มใช้ในเร็วๆนี้  ขอให้อาจารย์เตรียมตัวให้พร้อมกับเทคโนโลยีใหม่เหล่านี้   ของชาติตะวันตกชาติใดชาติหนึ่งแน่ ๆ และแม้ว่า

          โดยเฉพาะอาจารย์ใหม่  ขอให้เขียนผลงานทางวิชาการและเขียนต�าราเรียนภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัย  เราจะอยากปิดประเทศในปัจจุบันก็คงเป็นไปไม่ได้
          ก�าหนด  ซึ่งจะส่งผลกับสัญญาการจ้างต่อของอาจารย์  และที่ส�าคัญ  ต้องเป็นผลงานที่เขียนขึ้นด้วยตนเอง   เพราะความเกี่ยวโยงผูกพันกับเศรษฐกิจโลกมันยุ่งเหยิง

          ไม่ลอกมาจากที่อื่น หากมีการน�าข้อความมาใช้ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาให้ถูกต้องด้วย” อธิการบดีกล่าวในที่สุด จนไม่สามารถถอนตัวได้เสียแล้ว



                                  หนังสือพิมพ์ข่าวรามคำาแหง                                                   กองจัดการ
          เจ้าของ        มหาวิทยาลัยรามคำาแหง                                      งานประชาสัมพันธ์  อาคารสุโขทัย ชั้น ๒ ห้อง ๒๐๕ โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๐๔๕-๔๗
          ที่ปรึกษา      คณะกรรมการประชาสัมพันธ์ ม.ร.                              อัตราสมาชิก (ปีละ ๕๒ ฉบับ) ออกทุกวันจันทร์ ปีละ ๒๐๐ บาท
          บรรณาธิการ     ผศ.ลีนา ลิ่มอภิชาต
          ผู้ช่วยบรรณาธิการ  รศ.วาริศา พลายบัว   น.ส.สุธี ตันตินันท์ธร             สมาชิกอาจมารับด้วยตนเองที่มหาวิทยาลัยก็ได้
          กองบรรณาธิการ   นางรัชนี โคตรพรหม    น.ส.พรรณวรา เพิ่มพูล                นักศึกษาต้องการเปลี่ยนแปลงที่อยู่การส่งข่าวติดต่อที่งานประชาสัมพันธ์ อาคารสุโขทัย ชั้น ๒
                         นางปุญญิสา อรพินท์   น.ส.กุลิศรา เจริญสุข   นางสาริศา แสงสุข  ห้อง ๒๐๕ โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๐๔๕-๔๗
          ผู้จัดการ      นางวนิดา หาญณรงค์
          ช่างภาพ        นายวิทยา ธนาฤกษ์มงคล   นายภาณุพงศ์ พิงไธสง   นายสยุมพล ศรพรหม  ผู้พิมพ์    สำานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง โทร. ๐-๒๓๑๐-๘๗๕๘-๕๙
   6   7   8   9   10   11   12