Page 3 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 43 วันที่ 4 - 10 กุมภาพันธ์ 2562
P. 3

วันที่ ๔ - ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒                         ข่าวรามคำาแหง                                                               ๓









            เจาะประเด็น SCI1003










                  ความเป็นจริงของธรรมชาติที่อยู่รอบตัวเรา กับความรู้พื้นฐานทาง
           วิทยาศาสตร์ที่ยากเย็นแสนเข็ญเมื่อมาอยู่ในข้อสอบ ฉบับนี้ “ข่าวรามค�าแหง”
           ขอพาผู้อ่านเจาะประเด็น SCI 1003 และทริคการอ่านหนังสือที่ไม่ต้องเช้าตรู่
           อีกต่อไป
                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิทยา สีสด รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขต อาจารย์
           ผู้สอนวิชา SCI 1003 วิทยาศาสตร์ทั่วไป กล่าวว่าวิชานี้มีเนื้อหาโดยภาพรวม
           ของวิทยาศาสตร์ ทั้งฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ธรณีวิทยา ดาราศาสตร์ รวมถึง
           อุตุนิยมวิทยา เป็นความรู้ทั่วไปที่สามารถพบเจอได้ในชีวิตประจ�าวัน โดยเนื้อหา

           ในต�าราเริ่มจากประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์ ต่อด้วยเนื้อหาด้าน ‘เคมี’
           เรื่องของตารางธาตุ สารที่ใช้ในชีวิตประจ�าวัน เช่นสารอินทรีย์ สารที่ใช้งาน
           เช่นสารโพลิเมอร์ ธาตุที่ส�าคัญ เช่นทองค�า แคลเซียม อลูมิเนียม และสารที่
           เป็นภัย รวมทั้งอาหาร เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เป็นต้น          ก็เป็นส่วนหนึ่งของวิชานี้ โดยอธิบายตั้งแต่ก�าเนิดโลก องค์ประกอบของโลก
                  “เนื้อหาเกี่ยวกับเคมีที่นักศึกษาต้องเรียนยังไม่ลงรายละเอียดลึกมาก ลักษณะของพื้นผิว ที่มาและวัฏจักรของหิน ลักษณะของรอยแยกที่มีหลากหลาย
           เพราะเป็นวิชาส�าหรับนักศึกษาทุกคณะ และหวังให้นักศึกษาเรียนรู้วิทยาศาสตร์  รูปแบบ ส่วนหนึ่งของรอยแยกคือวงแหวนแห่งไฟที่ท�าให้เกิดแผ่นดินไหว
           รอบตัวได้อย่างถูกต้อง เช่น ธาตุกัมมันตรังสีที่ไม่ได้รุนแรงมากเหมือนที่เราคิด  บนโลก โดยวงแหวนแห่งไฟที่อยู่ใกล้ประเทศไทยมากที่สุดอยู่ทางฝั่งตะวันตก

           เพราะบางชนิดสามารถประยุกต์ใช้ในวงการแพทย์ และการเกษตรได้ นอกจากนี้  และแม้จะเกิดแผ่นดินไหวจากที่ไกลๆ ก็กระทบถึงกันได้หมดเพราะเราอยู่
           ยังรวมถึงเรื่องของพลาสติกที่บางชนิดสามารถรีไซเคิล รียูสได้ แต่ก็มีบางชนิด  บนโลกใบเดียวกัน
           ที่เสื่อมสภาพไป เป็นต้น”                                                    “วิชานี้มีเนื้อหาค่อนข้างเยอะ แต่มีประโยชน์ เพราะเป็นเรื่องที่อยู่ใน
                  ผศ.พิทยา กล่าวต่อไปว่านอกจากเนื้อหาด้านเคมีแล้ว ก็มีเนื้อหา   ชีวิตประจ�าวันของเรา แม้แต่เรื่องของอุตุนิยมวิทยา การพยากรณ์อากาศ
           เกี่ยวกับ ‘ชีววิทยา’ ซึ่งอธิบายถึงสิ่งมีชีวิต คน พืช สัตว์ ธาตุต่างๆ ที่รวมตัวกัน  ซึ่งส่งผลกระทบต่อการวางแผนชีวิตในแต่ละวัน รวมถึงการขนส่ง คมนาคม
           เป็นสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุด คือ เซลล์ การก�าเนิดของสิ่งมีชีวิตบนโลก จากอะตอม  และการเกษตร ข้อสอบจะไม่ลงรายละเอียดลึกมาก โดยสรุปเนื้อหาของแต่ละบท
           ของธาตุ 4 ชนิด คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน รวมตัวกัน       ในต�ารามาออกข้อสอบ ยกเว้น 2 บทสุดท้ายที่ไม่ได้น�ามาออกข้อสอบ”
           เกิดเป็นสิ่งมีชีวิต และมีวิวัฒนาการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสืบพันธุ์     ส�าหรับแนวข้อสอบ ผศ.พิทยา แนะน�าให้นักศึกษาอ่านต�าราบทที่
           ของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม นิเวศน์วิทยา  1-28 ข้อสอบปรนัย 110 ข้อ แบ่งเป็น บทที่ 1-7 (เคมี) 30 ข้อ บทที่ 8-13

           ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดย (ชีววิทยา) 30 ข้อ บทที่ 14-15 (ดาราศาสตร์) 10 ข้อ บทที่ 16-23 (ฟิสิกส์)
           ฝีมือมนุษย์                                                          20 ข้อ บทที่ 24-27 (ธรณีวิทยา) 10 ข้อ และบทที่ 28 (อุตุนิยมวิทยา) 10 ข้อ
                  ต่อด้วย ‘ฟิสิกส์’ ที่หลายคนมองว่ายาก แต่ความจริงแล้วไม่ได้ยาก  ฝากนักศึกษาทบทวนเนื้อหา ติดตามข่าวสารที่ทันสมัยเกี่ยวกับสัญลักษณ์ต่างๆ
           อย่างที่คิด เพราะเนื้อหาที่อาจารย์สอน อธิบายถึงสิ่งที่อยู่รอบตัว เป็นเนื้อหา  ที่เพิ่มเข้ามามากขึ้นของอุตุนิยมวิทยา
           ที่เรียนมาตั้งแต่มัธยม อาทิ แสง พลังงาน แรง การเคลื่อนที่ หน่วยวัดต่างๆ     “โดยพื้นฐานในชีวิตประจ�าวันของเราควรมีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
           คลื่น การสะท้อนของเสียง กฎของนิวตัน พลังงานเคมี พลังงานไฟฟ้า  ทั้งหมด เพราะเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา ซึ่งพูดถึงความเป็นจริงในธรรมชาติ
           พลังงานนิวเคลียร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ การหักเหความร้อน เป็นต้น         และยังมีเรื่องของเทคโนโลยี นวัตกรรมต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย”

           โดยฟิสิกส์จะมองลักษณะทางกายภาย รูปลักษณ์ภายนอก แตกต่างจากเคมี               ผศ.พิทยา กล่าวทิ้งท้ายว่าหลายคนเข้าใจว่าการอ่านหนังสือตอนเช้า
           ที่ดูองค์ประกอบภายในของสสาร                                          แล้วมาสอบจะดีที่สุด แต่ความจริงแล้วการอ่านหนังสือที่มีประสิทธิภาพมาก
                  ส่วนอีกเนื้อหาที่น่าสนใจ คือ ‘ดาราศาสตร์’ อธิบายถึงดวงดาว  ที่สุด ต้องอ่านแบบสะสม อ่านเพลินๆ เรื่อยๆ เหมือนอ่านหนังสือพิมพ์
           ท้องฟ้า โลก แสง สี เสียง และกาแลกซี ซึ่งดวงดาวเป็นที่มาของการนับเวลา  โดยไม่ต้องกังวลว่าจะต้องท่องจ�า อ่านผ่านๆ สักวันละ 10-20 หน้า พอถึง
           นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงโดยส่วนมากเป็นนักดาราศาสตร์ ด้าน ‘ธรณีวิทยา’   ช่วงใกล้สอบ ทบทวนอีกรอบ ต�ารา 1 เล่ม อ่านครบ 3 รอบ เกรด A ไม่หนี
                                                                                ไปไหนแน่นอน
   1   2   3   4   5   6   7   8