Page 4 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 33 วันที่ 26 พฤศจิกายน - 2 ธันวาคม 2561
P. 4

๔                                                    ข่าวรามคำาแหง                       วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน - ๒ ธันวาคม ๒๕๖๑













                    THA 1001  ลงลึกเรื่องภาษาไทย




                                                                                ไม่ยากเกินไปหากเข้าใจ-ใช้เป็น





























                  รู้หลักภาษาไทยแบบลงลึกกับ THA 1001 รายละเอียดซับซ้อนที่
           หากเข้าใจ ใช้เป็น เจอบ่อย ก็จะไม่ยากเกินไป รายวิชานี้ มีอาจารย์ผู้สอน 4 ท่าน
           ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรทิพย์ วนรัฐิกาล รองศาสตราจารย์ทวีศักดิ์

           ปิ่นทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวรรณ ชั่งใจ และอาจารย์ธนโชติ   “ก๋อ-กอ,  ต๋อ-ตอ” ทุกตัวที่ผันกลับมาได้นั้นคืออักษรกลาง ขณะที่ผันเสียง
           เกียรติณภัทร อาจารย์ทั้ง 4 ท่าน เป็นอาจารย์ประจ�าสาขาวิชาภาษาไทย  อื่นๆ เช่น “ขอ-คอ,  ฉอ-ชอ”  เป็นเสียงจัตวากับเสียงสามัญ ให้สังเกตว่า
           ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก  คณะมนุษยศาสตร์                       เสียงจัตวาในค�าว่า “ขอ, ฉอ” เป็นอักษรสูง และเสียงสามัญในค�าว่า “คอ, ชอ”
                  ผศ.พรทิพย์ วนรัฐิกาล กล่าวว่าวิชา THA 1001 ลักษณะและการใช้ เป็นอักษรต�่า และต้องสังเกตอักษรต�่าให้ดีเพราะมีรูปกับเสียงไม่ตรงกัน เช่น

           ภาษาไทย มีเนื้อหาเกี่ยวกับระบบเสียง ความหมายของค�า การสร้างค�า เช่น  “โน้ต, เค้ก, เชิ้ต, ล่อกแล่ก”
           ค�าซ้อน ค�าซ�้า ค�าประสม การสร้างประโยค ลักษณะประโยค การเรียงค�า            หลังจากจบเรื่องระบบเสียง ความหมายของค�า และการสร้างค�า
           ในประโยค การจ�าแนกค�า ค�าราชาศัพท์ ส�านวน การสะกดค�า และการใช้ ก็จะเข้าสู่รูปประโยค การเรียงค�าในประโยค ลักษณะของประโยค เช่น
           ค�า-ประโยค ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานของภาษาไทย                         ประโยคขอร้อง ประโยคชักชวน เป็นต้น และสามารถจ�าแนกลักษณะค�า

                  ส�าหรับเนื้อหาเรื่องระบบเสียง  มีทั้งเสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ และ ต่างๆได้ เช่น ค�านาม ค�ากริยา ค�าสรรพนาม ฯลฯ
           เสียงพยัญชนะ เป็นการเรียนรู้ต�าแหน่งการเกิดเสียง ท�าให้รู้ว่าออกเสียงได้    อีกทั้งนักศึกษาต้องแยกแยะได้ระหว่างส�านวน พังเพย และสุภาษิต
           ถูกต้องหรือไม่ หรือความรู้เกี่ยวกับสระผสม เช่นพูดว่า “อันนี้ของเธอชะมะ” มีความรู้เรื่องการใช้ค�า การใช้ประโยค ทั้งการใช้ค�าราชาศัพท์ ภาษาที่
           หรือ “ชิมิ” ที่เคยฮิตกันอยู่ช่วงหนึ่ง ก็รู้ว่าเสียงสระ ไอ ใอ  คือเสียง อะ+อิ   ข้อบกพร่อง เช่น ประโยคก�ากวม ค�าฟุ่มเฟือย ประโยคที่มีโครงสร้างแบบ

           หากพูดให้ชัดเจนก็จะออกเสียงทั้ง อะ+อิ ว่า “ใช่ไหม”                  ภาษาอังกฤษ เป็นต้น โดยนักศึกษาจะได้สังเกตค�าและการน�าไปใช้ได้
                  นอกจากนี้นักศึกษาก็จะได้รู้ลักษณะที่มาของการออกเสียงภาษาถิ่น  อย่างถูกต้อง ซึ่งรายวิชานี้จะครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับภาษาไทยอย่างครบถ้วน
           เช่น ค�าว่า “ให้” คือเสียง อา+อือ ในภาษาเหนือออกเสียงว่า “หื้อ” “พ่อ-ป้อ” เป็นองค์ความรู้ที่สามารถน�าไปต่อยอดได้หลากหลาย เช่น น�าความรู้ไป
           “ช้าง-จ๊าง” มาจากการพูดในภาษาเหนือจะออกเสียงเบา ท�าให้เสียงหนัก สอบเข้าท�างานในส่วนราชการต่างๆ ฯลฯ

           หายไป                                                                       รายวิชา THA 1001 นี้ วัดผลด้วยข้อสอบปรนัย 120 ข้อ  อิงเนื้อหา
                  “การเรียนวิชาลักษณะและการใช้ภาษาไทย ท�าให้นักศึกษารู้โครงสร้าง จากต�ารา  โดยจ�าแนกเนื้อหา ดังนี้ หัวข้อระบบเสียง 40 ข้อ หัวข้อการจ�าแนกค�า
           ของภาษาไทย ทั้งเสียง ค�า ความหมาย อีกทั้งการใช้ค�าและประโยค ซึ่งมี 40 ข้อ และหัวข้อการใช้ค�าและประโยค 40 ข้อ นักศึกษาควรได้คะแนน
           ความส�าคัญ เมื่อนักศึกษาไม่เข้าใจจะรู้สึกยากเพราะความรู้พื้นฐานยังไม่ดีพอ อย่างน้อย 50% ของทุกหัวข้อ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทั้ง 3 เรื่องอย่างเพียงพอ

           ดังนั้นอาจารย์จะสอนปูพื้นฐานใหม่ทั้งหมดให้เข้าใจชัดเจน โดยอธิบายให้ ดังนั้นนักศึกษาต้องสังเกตและจับทางให้ได้ว่าหัวข้อไหนมีลักษณะอย่างไร เช่น
           เข้าใจง่ายๆ เพื่อนักศึกษาจะได้รู้ มีความรู้เรื่องสระ พยัญชนะ การสร้างค�า ต้องวิเคราะห์ ต้องเข้าใจ หรือจดจ�า เนื้อหานั้นไม่ได้ยากเกินกว่าจะเข้าใจ
           ในภาษาไทย และการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง เมื่อนักศึกษาเข้าใจแล้วย่อม          “ภาษาไทยเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่ทุกคนควรภาคภูมิใจ
           สามารถอธิบายโครงสร้างภาษาและใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องด้วยเช่นกัน” พ่อขุนรามค�าแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยมาจากขอม-มอญโบราณ จนมาเป็น

                  ผศ.พรทิพย์ กล่าวว่าอาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อจะสอนให้นักศึกษา ตัวอักษรไทยในปัจจุบัน มีโครงสร้างของภาษาจนเป็นเอกลักษณ์ไทย
           จับประเด็นอย่างมีหลักการ รู้อย่างเข้าใจ ไม่ใช่ท่องจ�าเพียงอย่างเดียว ยกตัวอย่าง คนไทยควรภาคภูมิใจ หากภาคภูมิใจในภาษาของตนก็จะเกิดการอนุรักษ์
           เรื่องอักษรสามหมู่ อักษรสูง กลาง ต�่า ที่ปกตินักศึกษาจะท่องจ�าว่า “ไก่จิก ไปในตัว  หากไม่อนุรักษ์ ไม่ใช้ภาษา หรือออกเสียงไม่ถูกต้อง เช่น เสียง ร.
           เด็กตายเฎ็กฏายบนปากโอ่ง” หากรู้เพียงท่องจ�าก็ไม่สามารถน�าไปใช้ได้จริงๆ สักวันก็จะหายไปเหมือน ฃ. และ ฅ. ที่เหลือไว้เพียงตัวอักษรเท่านั้น”

           การบรรยายเนื้อหาส่วนการใช้ค�าและประโยคจะสอนเทคนิคให้นักศึกษา                หากนักศึกษาต้องการติดต่อสอบถาม สามารถติดต่ออาจารย์แต่ละท่าน
           ผันเสียงโดยไม่ต้องท่องจ�า เช่น “กอ ก่อ ก้อ ก๊อ ก๋อ” ใช้เทคนิคเทียบเสียง ได้ในห้องเรียน ดูตารางบรรยายของวิชา THA1001 ได้ใน ม.ร.30
           จัตวากับเสียงสามัญ  ถ้าตัวอักษรนั้นสามารถผันกลับมาด้วยตัวเองได้ เช่น  www.ru.ac.th
   1   2   3   4   5   6   7   8   9