Page 5 - ข่าวรามคำแหง ปีที่ 48 ฉบับที่ 14 วันที่ 16 - 22 กรกฎาคม 2561
P. 5

ข่าวรามคำาแหง
          วันที่ ๒๕ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๙
          วันที่ ๑๖ - ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๑                             ข่าวรามคำาแหง                                                               ๕ ๕


                    เศรษฐศาสตร์ 101





            รศ.อสัมภินพงศ์  ฉัตราคม                           คณะเศรษฐศาสตร์

                          ตอน ต้มยำากุ้ง (1)                                                     ที่ห้องแสดงศิลปะ



                 เห็นชื่อตอนนี้แล้วอย่าเพิ่งคิดว่าผมจะเปลี่ยนแนวเขียนเป็นประเภท                                    (เอ๋อ ฝ่อง จัญ)
           “ชวนชิม”  ไปเสียแล้วนะครับ  ผมยังคงแนวเศรษฐศาสตร์อยู่เหมือนเดิม      ผศ.ดร.สรตี  ปรีชาปัญญากุล                         คณะมนุษยศาสตร์

           แต่ที่ตั้งชื่อเป็นตอนต้มย�ากุ้งนั้นก็เพราะผมจะเขียนถึงวิกฤตเศรษฐกิจที่ร้ายแรง
           ที่สุดในยุคปัจจุบันซึ่งผมขอก�าหนดเอาเองคร่าว ๆ ว่าหมายถึงตั้งแต่หลังสงครามโลก      การไปดูนิทรรศการศิลปะ  เป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่คนเวียดนามมักจะท�า
           ครั้งที่  2  เป็นต้นมา                                               เมื่อมีเวลาว่าง ภาพวาดบนผ้าไหม และภาพวาดสีน�้ามันของเวียดนามมีเอกลักษณ์

                 ผมเขียนตอนนี้ในวันที่  2  กรกฎาคมซึ่งเขาถือกันว่าเป็นจุดเริ่มต้นของ   เฉพาะตัวที่โด่งดัง เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
           วิกฤตการณ์ทางการเงินที่เรียกกันว่า “วิกฤตต้มย�ากุ้ง” เมื่อ 21 ปีมาแล้ว    H:

           เพราะเป็นวันที่ไทยเราประกาศลอยตัวค่าเงินบาท  ท�าให้ค่าเงินบาทเทียบกับ    (มาย เอย บึ๊ก จัญ ไหน่ เสิ้ต แด่ป)     มายคะ ภาพนี้สวยมาก
           ดอลลาร์ตกรูดลงมาเรื่อย ๆ จากที่เคยทรงตัวอยู่ ณ ระดับ 25 บาทต่อดอลลาร์   V:
           จนมาเป็นเกือบ 50 บาทต่อดอลลาร์ในที่สุด แต่ที่ส�าคัญกว่านั้นก็คือการตกต�่า    (อื่อ หญี เหม่า สั้ก เสิ้ต ซิญ โด่ง)  ใช่ สีสันสดใสมาก

           ของค่าเงินบาทยังเป็นสาเหตุที่ท�าให้วิกฤตต้มย�ากุ้งรุนแรงมากขึ้นจนไม่อาจ
           ควบคุมได้ด้วย                                                          (เดย หล่า บึ๊ก จัญ แทว เจื่อง ฝาย หลาง หม่าน)  นี่เป็นภาพแนวโรแมนติก
                 ก่อนอื่นต้องขอท�าความเข้าใจเกี่ยวกับชื่อเสียก่อน  เพราะท่านผู้อ่าน   H:

           ที่เป็นเด็กรุ่นหลังอาจไม่เคยรู้มาก่อนด้วยซ�้าว่ามีวิกฤตการณ์ที่มีชื่ออย่างนี้     (เกิ่ว ก๊อ ทิ้ก จัญ หลั่ว คง)   เธอชอบภาพวาดบนผ้าไหม ไหม
           หรือท่านที่อาวุโสหน่อยก็อาจลืมไปหรือไม่ทราบว่าท�าไมเขาจึงเรียกว่าวิกฤตต้มย�ากุ้ง   V:
           ที่มาของชื่อนี้เกิดจากการที่อดีตรัฐมนตรีคลังท่านหนึ่งของไทย  (ท่านเป็นอดีต     (หมิ่ญ เสิ้ต ทิ้ก)   ฉันชอบมาก

           ตั้งแต่ตอนนั้น คือไม่ได้เป็นแล้วตอนที่เกิดวิกฤต) ออกมาวิเคราะห์ถึงปัญหา  H:
           ร้ายแรงที่เกิดขึ้นแล้วก็เลยคิดตั้งชื่อขึ้นตามอาหารที่ขึ้นหน้าขึ้นตาของไทย     (เหญี่ยว เหงื่อย เนื้อก งหว่าย เสิ้ต ทิ้ก จัญ หลั่ว เหวียต นาม)

           ที่ต่างชาติรู้จักดีซึ่งก็คือต้มย�ากุ้ง ทั้งนี้เพราะเป็นวิกฤตที่เริ่มต้นที่เมืองไทย     ชาวต่างชาติหลายคนชอบภาพวาดบนผ้าไหมของเวียดนามมาก
           แล้วส่งผลกระทบไป (เกือบ) ทั่วโลกนั่นเอง ก่อนหน้านั้นจะมีวิกฤตเศรษฐกิจ  V:
           ที่ตั้งชื่อแบบนี้หรือเปล่าผมไม่แน่ใจ  แต่ว่าเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจที่มีต้นเหตุ    (เหาะ กุ๊ง เสิ้ต ทิ้ก จัญ เซิน หม่าย) พวกเขาก็ชอบภาพวาดสีน�้ามันด้วย

           มาจากสหรัฐฯ ในช่วงปี 2550-51 ก็มีการตั้งชื่อในท�านองเดียวกันว่า วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์   H:
           (Hamburger  Crisis)  ซึ่งก็คงเป็นเพราะเห็นว่าแฮมเบอร์เกอร์เป็นอาหาร     (อื่อ จัญ หลั่ว หว่า จัญ เซิน หม่าย เหวียต นาม ขา โหนย เตี๊ยง)

           ที่ขึ้นหน้าขึ้นตาของคนอเมริกันไม่ต่างจากต้มย�ากุ้งของคนไทย             ใช่ ภาพวาดบนผ้าไหมและภาพวาดสีน�้ามันของเวียดนามค่อนข้างจะมีชื่อเสียง
                 ส�าหรับคนที่เห็นว่าการปล่อยค่าเงินบาทลอยตัวซึ่งท�าให้ค่าเงินบาทตกต�่า   V:        (หาย เอย หล่าย เดย)   หายคะ มาทางนี้
           อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนนั้นเป็นสาเหตุของวิกฤตต้มย�ากุ้ง ก็จะวิเคราะห์ว่า   H:          (สี่ เด๊ย)        อะไรเหรอ

           จุดเริ่มของวิกฤตจริง ๆ นั้นมาจากการที่เราถูกโจมตีค่าเงินบาทโดยกองทุน  V:
           ที่บริหารโดย  จอร์จ  โซรอส  ซึ่งที่จริงก็เป็นการเก็งก�าไรจากค่าเงินตามปกติ    (หญึง บึ๊ก จัญ เซิน เสิ่ว เตวียต เหวย)  ภาพวาดสีน�้ามันที่ดีภาพหนึ่ง
           ของกองทุนระหว่างประเทศที่ท�าธุรกิจหาประโยชน์จากการเก็งก�าไรทั้งหลาย   H:

           และก็ไม่ได้มีแค่กองทุนเดียวที่เก็งก�าไรค่าเงินบาทด้วย  การโจมตีค่าเงินบาท    (จ่า ก๋า ฮาย บึ๊ก เดิ่ว แทว ฟอง ก๊าก โก๋ เจวี่ยน เหวียต นาม)
           เกิดขึ้นได้เพราะค่าที่แท้จริงของเงินบาทขณะนั้นแข็งค่ากว่าความเป็นจริงไปมาก     อูย ทั้งสองภาพต่างก็วาดตามรูปแบบดั้งเดิมของเวียดนาม
           เพราะมีผู้ค�านวณไว้ว่าค่าเงินบาทที่แท้จริงในปี  2539  อยู่ที่ประมาณ  30  บาท  V:

           ต่อดอลลาร์ การที่เราก�าหนดค่าเงินบาทเทียบกับดอลลาร์ไว้ที่ 25 บาท จึงท�าให้
           เป็นเป้าของการโจมตีได้ โดยฝ่ายโจมตีคาดหมายว่าถ้าเราประกาศลดค่าเงินบาท     (มิ่ญ  คง อาม  เหียว โห่ย ฮว่า  ลั้ม  ญึง มิ่ญ เสิ้ต ทิ้ก  จัญ หลั่ว กั๋ว ฮว่า

           มาที่ราว 30 บาทต่อดอลลาร์ก็เพียงพอให้ได้ก�าไรกันอู้ฟู่แล้ว             สี งเหวียน ฟาน จั๊ญ)
                 วิธีการโจมตีค่าเงินบาทนั้นท�าโดยการประกาศขายเงินสกุลบาท          ฉันไม่มีความรู้ลึกซึ้งมากนักเกี่ยวกับการวาดภาพ แต่ฉันชอบงานวาดภาพ
           ในตลาดแลกเปลี่ยนล่วงหน้า  ตัวอย่างเช่นเสนอขายเงินบาทจ�านวนมากในอีก     บนผ้าไหมของศิลปิน เหงวียน ฟาน จั๊น

           6  เดือนข้างหน้า  ซึ่งตามหลักอุปสงค์อุปทานเวลามีสินค้าออกมาขายเยอะ  ๆ   H:            (เต๋อ กุ๊ง เถ)      ฉันก็เช่นกัน
           จะท�าให้สินค้านั้นราคาตกต�่าลง ค่าเงินบาทก็เช่นกัน การจะป้องกันไม่ให้ค่าเงินตกต�่า              ไวยากรณ์

           ก็ต้องไปรับซื้อหรือเพิ่มอุปสงค์เข้าไปมาก ๆ ทางฝ่ายไทยที่จะป้องกันการโจมตี     1.  การใช้ค�า    (เด๊ย) มักตามหลังค�าปุจฉาสรรพนาม เช่น   (อาย) ใคร
           ค่าเงินจึงต้องน�าดอลลาร์ไปซื้อเงินบาทล่วงหน้ารอบแล้วรอบเล่า  ปัญหามันอยู่ตรงที่       (เดิ่ว) ที่ไหน    (สี่) อะไร  และอื่น ๆ เพื่อท�าให้เป็นประโยคค�าถาม
           เงินดอลลาร์ที่ไปใช้ป้องกันการโจมตีค่าเงินบาทนั้นมันเป็นทุนส�ารองของประเทศ     2.    (เด๊ย) จะวางไว้หน้าค�าที่เป็นค�าถาม ในกลุ่ม     (อ่า อือ จื๊อ)

           (ไว้ใช้ช�าระหนี้ค่าซื้อสินค้า  ช�าระหนี้เงินกู้  และเป็นส�ารองหนุนหลังค่าเงินบาท)   โดยจะใช้พูดคุยแบบไม่เป็นทางการ
           เมื่อน�าไปต่อสู้การโจมตีค่าเงินจนเกือบหมดและมีการประกาศตัวเลขทุนส�ารอง     3.    (เด๊ย) สามารถใช้ตามหลังวลี เพื่อเน้นย�้า หรือประกาศว่าเหตุการณ์นั้น
           ออกมาก็เกิดโกลาหลทั่วแผ่นดินสิครับ                 (อ่านต่อหน้า 11)  ได้เกิดขึ้นแล้ว หรือก�าลังจะเกิดขึ้น
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10